ข้อมูลสิ่งมีชีวิตใน TH-BIF


สัตว์

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

พืช

พืชดอก

พืชเมล็ดเปลือย

เฟิร์น/ไลโคไฟต์

มอสส์

สาหร่าย

จุลินทรีย์ และสิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง

แบคทีเรีย อาร์เคีย

รา

โปรติสตา

ไวรัส ไวรอยด์ พรีออน

สถานภาพการคุกคาม


ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน


รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว

จำนวนสิ่งมีชีวิต 134 รายการ

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นทีรุกรานแล้ว หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทยแล้ว และสามารถตั้งถิ่นฐานและมีการแพร่กระจายได้ในธรรมชาติ เป็นชนิดพันธุ์เด่นในสิ่งแวดล้อมใหม่ (dominant species) และเป็นชนิดพันธุ์ที่อาจทำให้ชนิดพันธุ์ท้องถิ่นหรือชนิดพันธุ์ พื้นเมืองสูญพันธุ์ รวมไปถึงส่งผลคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพและก่อให้เกิดความสูญเสียทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

รายการ 2 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน

จำนวนสิ่งมีชีวิต 57 รายการ

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแน้วโน้มรุกราน หมายถึง (1) ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีหลักฐานว่ามีการรุกรานในถิ่นอื่น ที่เข้ามาในประเทศไทยแล้ว และสามารถตั้งถิ่นฐาน และมีการแพร่กระจายได้ในธรรมชาติ จากการสำรวจและเฝ้าสังเกตพบว่าอาจแพร่ระบาด หากมีปัจจัยเกื้อหนุนหรือ สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ (2) ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เคยรุกรานในอดีต ซึ่งสามารถควบคุมดูแลได้แล้ว

รายการ 3 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีประวัติว่ารุกรานแล้วในประเทศอื่น

จำนวนสิ่งมีชีวิต 40 รายการ

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีประวัติว่ารุกรานแล้วในประเทศอื่น แต่ยังไม่รุกรานในประเทศไทย หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทย แล้วมีหลักฐานว่ามีการรุกรานในประเทศอื่น

รายการ 4 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่ยังไม่เข้ามาในประเทศไทย

จำนวนสิ่งมีชีวิต 79 รายการ

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่ยังไม่เข้ามาในประเทศไทย หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีข้อมูลหรือหลักฐานว่าเป็น ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในประเทศอื่น ได้แก่ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นตามทะเบียน 100 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานรุนแรงของโลก ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ห้ามนำเข้าตามกฎหมาย และชนิดพันธุ์ที่มีข้อมูลจากผลการศึกษาวิจัยว่าเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่อื่น ๆ

ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง


พื้นที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (สถานตากอากาศบางปู)

จำนวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมด 590 รายการ

กลุ่มสัตว์

566

กลุ่มพืช

23

กลุ่มจุลินทรีย์

1

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว

จำนวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมด 1,807 รายการ

กลุ่มสัตว์

863

กลุ่มพืช

879

กลุ่มจุลินทรีย์

65

พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

จำนวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมด 983 รายการ

กลุ่มสัตว์

720

กลุ่มพืช

247

กลุ่มจุลินทรีย์

16

พื้นที่มรดกโลกเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง

จำนวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมด 3,310 รายการ

กลุ่มสัตว์

2,056

กลุ่มพืช

1,136

กลุ่มจุลินทรีย์

118

พื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง

จำนวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมด 381 รายการ

กลุ่มสัตว์

328

กลุ่มพืช

53

กลุ่มจุลินทรีย์

0

ข่าวประชาสัมพันธ์


upcoming-events-img-1

19

มี.ค.

“สผ. หารือ กรมประมง แนวทางการเชื่อมต่อข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพกับ TH-BIF”

  • วันที่ 19 มี.ค. 2567

เมื่อวันอังคารที่ 19 มีนาคม 2566 เวลา 13.00 น. กองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย นางภัทรินทร์ ทองสิมา ผู้อำนวยการกลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ และเจ้าหน้าที่ กลช. หารือร่วมกับกรมประมง แนวทางการเชื่อมต่อและปรับปรุงแผนการดำเนินงานเชื่อมต่อข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพกับระบบคลังข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย (TH-BIF)

upcoming-events-img-1

16

ต.ค.

การประชุมเพื่อนำเสนอการพัฒนาระบบต้นแบบการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง

  • วันที่ 16 ต.ค. 2566 09:00 น.

เมื่อวันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม 2566 สผ. โดย กองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ร่วมกับ บริษัท คอนซัลแทนท์ ออฟ เทคโนโลยี จำกัด

upcoming-events-img-1

8

ส.ค.

การประชุมเพื่อนำเสนอการพัฒนาระบบต้นแบบการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง

  • วันที่ 8 ส.ค. 2566 09:00 น.

เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2566 การประชุมเพื่อนำเสนอการพัฒนาระบบต้นแบบการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง

upcoming-events-img-1

4

ส.ค.

การประชุมเพื่อนำเสนอการพัฒนาระบบต้นแบบการจัดการข้อมูลในพื้นที่ทะเลสาบสงขลา

  • วันที่ 4 ส.ค. 2566 09:00 น.

เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 - 15.00 น. ณ ห้องประชุมศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่าง จังหวัดสงขลา


หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล