ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial fern in mangrove.
-
เฟินขึ้นบนดิน เหง้าหนา เกล็ดรูปรีสีน้ำตาลดำ ขอบบาง ยาวประมาณ 4 ซม. ใบประกอบปลายคี่ รูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 4 ม. รวมก้านใบที่ยาวได้ถึง 1 ม. ใบย่อยช่วงโคนมักลดรูปคล้ายหนาม ใบย่อยรูปแถบ ยาว 30–50 ซม. ปลายกลมหรือมน ปลายมีติ่งแหลม โคนเรียวสอบถึงกลม ก้านใบสั้นหรือยาวได้ถึง 2.5 ซม. เส้นกลางใบมีริ้ว ช่องร่างแหเรียงเป็นระเบียบ ยอดอ่อนสีแดง ใบที่มีสปอร์อยู่ช่วงปลายต้น ขนาดเล็กกว่าใบช่วงล่าง กลุ่มอับสปอร์กระจายทั่วแผ่นใบด้านล่าง มีต่อม (paraphyses) เป็นตุ่ม ปลายจักเป็นพู
-
ลำต้นทอดขนานพื้นดิน รากอ้วนขนาดใหญ่ ใบ หนาหยาบ เมื่อต้นยังเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยวปกติ รูปแถบขอบขนาน สอบเข้าหาปลาย โคนมน เมื่อโตเต็มที่จะเป็นใบประกอบแบบขนนก ขนาดใหญ่ 2 - 4 เมตร ใบย่อยมีก้านใบขนาดแตกต่างกันออกไปตามสถานที่ขึ้น ใบย่อยที่สร้างสปอร์มักขึ้นอยู่ตอนบนๆ และมักมีก้านใบสั้นหรือไม่มี อับสปอร์จะขึ้นเป็นกลุ่มอย่างหนาแน่น ตลอดใบใต้ท้องใบ ทำให้มองไม่เห็นเส้นใบ มักจะเห็นเป็นสีน้ำตาลแดงสดุดตาแต่ไกล
-
พืชพวกเฟิร์น มีลำต้นเป็นเหง้าสั้นตั้งตรง อยู่ใต้ดิน ชูเฉพาะส่วนของใบขึ้นมาเป็นกอ ส่วนปลายของลำต้นและโคนใบปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดสีน้ำตาลคล้ำ ขอบเรียบ บางใส ขนาด 1.5x4 ซม. โคนต้นมีรากค้ำยัน หนา อวบน้ำ
ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ ช่อใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก ขนาด 20-60x60-180 ซม. ประกอบด้วย ใบย่อย 15-30 คู่ ก้านช่อใบอวบอ้วน สีเขียวถึงสีน้ำตาลอ่อนคล้ายฟางข้าว ผิวเกลี้ยง ยาวถึง 1 ม. ด้านบน เป็นร่องตื้น ปลายก้านมีหนามแข็งสั้นๆ ซึ่งเกิดจากการลดรูปของใบย่อย หน้าตัดขวางของกลุ่ม ท่อลำเลียงของก้านใบลักษณะคล้ายตัวอักษร “W” ใบย่อยไม่สร้างสปอร์ รูปขอบขนานแคบ ขนาด 4-8x30-50 ซม. เรียงสลับอยู่ตอนล่างของช่อใบ โคนใบรูปลิ่มถึงมนไม่สมมาตร ขอบใบเรียบ บางใส ปลายใบกลมถึงเว้าบุ๋ม และมีติ่งหนามสั้นๆ เส้นใบสานกันคล้ายรังผึ้ง เส้นกลางใบนูนเด่น เนื้อใบหยาบ หนา คล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ใบแห้งสีน้ำตาล อมเขียว ก้านใบย่อยยาวถึง 2.5 ซม. ด้านบนแบนราบ ใบย่อยสร้างสปอร์อยู่ตอนปลายของช่อใบลักษณะทั่วไปคล้ายใบที่ไม่สร้างสปอร์แต่มีขนาดเล็กกว่า อับสปอร์สีน้ำตาลแดง ปกคลุมทั่วผิวใบด้านล่าง สปอร์โปร่งใส ไม่มีสี
ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ ช่อใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก ขนาด 20-60x60-180 ซม. ประกอบด้วย ใบย่อย 15-30 คู่ ก้านช่อใบอวบอ้วน สีเขียวถึงสีน้ำตาลอ่อนคล้ายฟางข้าว ผิวเกลี้ยง ยาวถึง 1 ม. ด้านบน เป็นร่องตื้น ปลายก้านมีหนามแข็งสั้นๆ ซึ่งเกิดจากการลดรูปของใบย่อย หน้าตัดขวางของกลุ่ม ท่อลำเลียงของก้านใบลักษณะคล้ายตัวอักษร “W” ใบย่อยไม่สร้างสปอร์ รูปขอบขนานแคบ ขนาด 4-8x30-50 ซม. เรียงสลับอยู่ตอนล่างของช่อใบ โคนใบรูปลิ่มถึงมนไม่สมมาตร ขอบใบเรียบ บางใส ปลายใบกลมถึงเว้าบุ๋ม และมีติ่งหนามสั้นๆ เส้นใบสานกันคล้ายรังผึ้ง เส้นกลางใบนูนเด่น เนื้อใบหยาบ หนา คล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ใบแห้งสีน้ำตาล อมเขียว ก้านใบย่อยยาวถึง 2.5 ซม. ด้านบนแบนราบ ใบย่อยสร้างสปอร์อยู่ตอนปลายของช่อใบลักษณะทั่วไปคล้ายใบที่ไม่สร้างสปอร์แต่มีขนาดเล็กกว่า อับสปอร์สีน้ำตาลแดง ปกคลุมทั่วผิวใบด้านล่าง สปอร์โปร่งใส ไม่มีสี
-
ลำต้นทอดขนานพื้นดิน รากอ้วนขนาดใหญ่ ใบ หนาหยาบ เมื่อต้นยังเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยวปกติ รูปแถบขอบขนาน สอบเข้าหาปลาย โคนมน เมื่อโตเต็มที่จะเป็นใบประกอบแบบขนนก ขนาดใหญ่ 2 - 4 เมตร ใบย่อยมีก้านใบขนาดแตกต่างกันออกไปตามสถานที่ขึ้น ใบย่อยที่สร้างสปอร์มักขึ้นอยู่ตอนบนๆ และมักมีก้านใบสั้นหรือไม่มี อับสปอร์จะขึ้นเป็นกลุ่มอย่างหนาแน่น ตลอดใบใต้ท้องใบ ทำให้มองไม่เห็นเส้นใบ มักจะเห็นเป็นสีน้ำตาลแดงสดุดตาแต่ไกล
-
ลำต้นทอดขนานพื้นดิน รากอ้วนขนาดใหญ่ ใบ หนาหยาบ เมื่อต้นยังเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยวปกติ รูปแถบขอบขนาน สอบเข้าหาปลาย โคนมน เมื่อโตเต็มที่จะเป็นใบประกอบแบบขนนก ขนาดใหญ่ 2 - 4 เมตร ใบย่อยมีก้านใบขนาดแตกต่างกันออกไปตามสถานที่ขึ้น ใบย่อยที่สร้างสปอร์มักขึ้นอยู่ตอนบนๆ และมักมีก้านใบสั้นหรือไม่มี อับสปอร์จะขึ้นเป็นกลุ่มอย่างหนาแน่น ตลอดใบใต้ท้องใบ ทำให้มองไม่เห็นเส้นใบ มักจะเห็นเป็นสีน้ำตาลแดงสดุดตาแต่ไกล
-
ลำต้นทอดขนานพื้นดิน รากอ้วนขนาดใหญ่ ใบ หนาหยาบ เมื่อต้นยังเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยวปกติ รูปแถบขอบขนาน สอบเข้าหาปลาย โคนมน เมื่อโตเต็มที่จะเป็นใบประกอบแบบขนนก ขนาดใหญ่ 2 - 4 เมตร ใบย่อยมีก้านใบขนาดแตกต่างกันออกไปตามสถานที่ขึ้น ใบย่อยที่สร้างสปอร์มักขึ้นอยู่ตอนบนๆ และมักมีก้านใบสั้นหรือไม่มี อับสปอร์จะขึ้นเป็นกลุ่มอย่างหนาแน่น ตลอดใบใต้ท้องใบ ทำให้มองไม่เห็นเส้นใบ มักจะเห็นเป็นสีน้ำตาลแดงสดุดตาแต่ไกล
ระบบนิเวศ :
-
Common in mangrove swamps and tidal forests.
การกระจายพันธุ์ :
-
Pantropical.
-
พบมากในป่าชายเลนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
เขตร้อนชื้นทั่วโลก
-
พบมากในป่าชายเลนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
พบมากในป่าชายเลนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
พบมากในป่าชายเลนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Bangkok,SamutPrakan,Phetchaburi,PrachuapKhiriKhan,Chachoengsao,SuratThani,Satun,Trang,Pattani
-
กาญจนบุรี, สมุทรสงคราม, อุดรธานี
-
สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นไม้น้ำ (Aquatic Fern)
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2010)
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
-
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง