ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้เถา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ลำต้น: สูงได้ถึง 8 ม. หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีกว้าง 1.3-11 ซม. ยาว 3-17 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก: ออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองหรือครีม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 5กลีบ โคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล: ทรงรีหรือค่อนข้างกลม สีดำหรือดำอมแดง ยาว 7-12มม. เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาลแดง ยาว 2-3.5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 8 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีกว้าง 1.3-11 ซม. ยาว 3-17 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองหรือครีม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 5กลีบ โคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงรีหรือค่อนข้างกลม สีดำหรือดำอมแดง ยาว 7-12มม. เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาลแดง ยาว 2-3.5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 8 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีกว้าง 1.3-11 ซม. ยาว 3-17 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองหรือครีม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 5กลีบ โคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงรีหรือค่อนข้างกลม สีดำหรือดำอมแดง ยาว 7-12มม. เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาลแดง ยาว 2-3.5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 8 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีกว้าง 1.3-11 ซม. ยาว 3-17 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองหรือครีม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 5กลีบ โคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงรีหรือค่อนข้างกลม สีดำหรือดำอมแดง ยาว 7-12มม. เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาลแดง ยาว 2-3.5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 8 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีกว้าง 1.3-11 ซม. ยาว 3-17 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองหรือครีม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 5กลีบ โคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงรีหรือค่อนข้างกลม สีดำหรือดำอมแดง ยาว 7-12มม. เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาลแดง ยาว 2-3.5 มม.
ระบบนิเวศ :
- ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ริมน้ำ ชายหาด และป่าชายเลน จนถึงระดับความสูง 400 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ริมน้ำ ชายหาด และป่าชายเลน จนถึงระดับความสูง 400 เมตร
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ริมน้ำ ชายหาด และป่าชายเลน จนถึงระดับความสูง 400 เมตร
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ริมน้ำ ชายหาด และป่าชายเลน จนถึงระดับความสูง 400 เมตร
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ริมน้ำ ชายหาด และป่าชายเลน จนถึงระดับความสูง 400 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ