ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นยืนขนาดเล็ก หรือไม้พุ่มขนาดใหญ่ ใบเดี่ยวสีเขียว หนา แข็งเป็นมัน ใบอ่อนสีแดง ดอกเล็กเป็นช่อเป็นกระจุก ดอกสีขาวสลับแดงเรื่อๆ ชมพู มีลูกกลมโตสีดำ
- ไม้ต้นยืนขนาดเล็ก หรือไม้พุ่มขนาดใหญ่ ใบเดี่ยวสีเขียว หนา แข็งเป็นมัน ใบอ่อนสีแดง ดอกเล็กเป็นช่อเป็นกระจุก ดอกสีขาวสลับแดงเรื่อๆ ชมพู มีลูกกลมโตสีดำ
- ไม้ต้นยืนขนาดเล็ก หรือไม้พุ่มขนาดใหญ่ ใบเดี่ยวสีเขียว หนา แข็งเป็นมัน ใบอ่อนสีแดง ดอกเล็กเป็นช่อเป็นกระจุก ดอกสีขาวสลับแดงเรื่อๆ ชมพู มีลูกกลมโตสีดำ
- ไม้ต้นยืนขนาดเล็ก หรือไม้พุ่มขนาดใหญ่ ใบเดี่ยวสีเขียว หนา แข็งเป็นมัน ใบอ่อนสีแดง ดอกเล็กเป็นช่อเป็นกระจุก ดอกสีขาวสลับแดงเรื่อๆ ชมพู มีลูกกลมโตสีดำ
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย, อินโดนีเซีย, ไทย, มาเลเซีย
- อินเดีย, อินโดนีเซีย, ไทย, มาเลเซีย
- อินเดีย, อินโดนีเซีย, ไทย, มาเลเซีย
- อินเดีย, อินโดนีเซีย, ไทย, มาเลเซีย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ขนาดเล็กสูง 1-4 เมตร แต่อาจสูงได้ถึง 10 เมตร
ลำต้น ตั้งตรง กิ่งก้านกลม หรือเป็นเหลี่ยม สีน้ำตาลอมเทา กิ่งอ่อนสีน้ำตาลแดง แตกกิ่งก้านสาขารอบๆต้นมาก
ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ออกหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปรีถึงรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 6-12 เซนติเมตร ปลายแหลมถึงมน โคนใบรูปลิ่ม ผิวใบและขอบใบเรียบ แผ่นใบมีต่อม เห็นเป็นจุดๆ กระจายอยู่ทั่วไป ใบหนามัน ก้านใบสั้น สีแดง เส้นใบมองเห็นไม่ค่อยชัดเจน
ดอก เป็นช่อจากซอกใบ และปลายกิ่ง ช่อละ 4-8 ดอก กลีบดอกสีขาวแกมชมพู ก้านช่อดอกยาว 1.5-2.5 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยยาว 8-15 มิลลิเมตร ติดกันที่โคนเป็นหลอดสั้นๆ ปลายแยกเป็น 5 แฉก แต่ละแฉกรูปใบหอก ปลายกลีบดอกแหลม กลีบเลี้ยงสีเขียว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผล รูปทรงกลมแป้น ผิวเรียบ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางราว 6 มิลลิเมตร ผลอ่อน สีแดง เมื่อสุกมีสีม่วงเข้ม เมล็ด เดี่ยว กลม
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ขนาดเล็กสูง 1-4 เมตร แต่อาจสูงได้ถึง 10 เมตร
ลำต้น ตั้งตรง กิ่งก้านกลม หรือเป็นเหลี่ยม สีน้ำตาลอมเทา กิ่งอ่อนสีน้ำตาลแดง แตกกิ่งก้านสาขารอบๆต้นมาก
ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ออกหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปรีถึงรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 6-12 เซนติเมตร ปลายแหลมถึงมน โคนใบรูปลิ่ม ผิวใบและขอบใบเรียบ แผ่นใบมีต่อม เห็นเป็นจุดๆ กระจายอยู่ทั่วไป ใบหนามัน ก้านใบสั้น สีแดง เส้นใบมองเห็นไม่ค่อยชัดเจน
ดอก เป็นช่อจากซอกใบ และปลายกิ่ง ช่อละ 4-8 ดอก กลีบดอกสีขาวแกมชมพู ก้านช่อดอกยาว 1.5-2.5 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยยาว 8-15 มิลลิเมตร ติดกันที่โคนเป็นหลอดสั้นๆ ปลายแยกเป็น 5 แฉก แต่ละแฉกรูปใบหอก ปลายกลีบดอกแหลม กลีบเลี้ยงสีเขียว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผล รูปทรงกลมแป้น ผิวเรียบ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางราว 6 มิลลิเมตร ผลอ่อน สีแดง เมื่อสุกมีสีม่วงเข้ม เมล็ด เดี่ยว กลม
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ขนาดเล็กสูง 1-4 เมตร แต่อาจสูงได้ถึง 10 เมตร
ลำต้น ตั้งตรง กิ่งก้านกลม หรือเป็นเหลี่ยม สีน้ำตาลอมเทา กิ่งอ่อนสีน้ำตาลแดง แตกกิ่งก้านสาขารอบๆต้นมาก
ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ออกหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปรีถึงรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 6-12 เซนติเมตร ปลายแหลมถึงมน โคนใบรูปลิ่ม ผิวใบและขอบใบเรียบ แผ่นใบมีต่อม เห็นเป็นจุดๆ กระจายอยู่ทั่วไป ใบหนามัน ก้านใบสั้น สีแดง เส้นใบมองเห็นไม่ค่อยชัดเจน
ดอก เป็นช่อจากซอกใบ และปลายกิ่ง ช่อละ 4-8 ดอก กลีบดอกสีขาวแกมชมพู ก้านช่อดอกยาว 1.5-2.5 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยยาว 8-15 มิลลิเมตร ติดกันที่โคนเป็นหลอดสั้นๆ ปลายแยกเป็น 5 แฉก แต่ละแฉกรูปใบหอก ปลายกลีบดอกแหลม กลีบเลี้ยงสีเขียว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผล รูปทรงกลมแป้น ผิวเรียบ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางราว 6 มิลลิเมตร ผลอ่อน สีแดง เมื่อสุกมีสีม่วงเข้ม เมล็ด เดี่ยว กลม
การขยายพันธุ์ :
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
- การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- สุราษฎร์ธานี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ผลใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย