ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 ม. กิ่งก้านอ่อน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-22 ซม. เนื้อใบหนาเป็นมัน ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอกสีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆตรงซอกใบ กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ขนาด 2.5 มม. ก้านดอกยาว 5 มม. กลีบรองดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียมีลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลมมี 3 ช่อง ผลค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง แตกตามพู เมล็ดค่อนข้างกลม ขนาด 7-8 มม.
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 ม. กิ่งก้านอ่อน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-22 ซม. เนื้อใบหนาเป็นมัน ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอกสีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆตรงซอกใบ กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ขนาด 2.5 มม. ก้านดอกยาว 5 มม. กลีบรองดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียมีลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลมมี 3 ช่อง ผลค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง แตกตามพู เมล็ดค่อนข้างกลม ขนาด 7-8 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แถบประเทศ อินเดีย พม่า อินโดจีน คาบสมุทรมลายู ประเทศไทยพบทั่วไปในป่าผลัดใบ ในป่าเบญจพรรณหรือป่าดิบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 600 ม. ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ติดผลเดือนเมษายน-มิถุนายน
-
พบในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แถบประเทศ อินเดีย พม่า อินโดจีน คาบสมุทรมลายู ประเทศไทยพบทั่วไปในป่าผลัดใบ ในป่าเบญจพรรณหรือป่าดิบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 600 ม. ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ติดผลเดือนเมษายน-มิถุนายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
อุบลราชธานี
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ลพบุรี
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ลำปาง
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช