ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่ม สูง 0.58-1 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปรีแกมหอก กว้าง 1.5-7 ซม. ยาว 4-20 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่ง ขอบใบหยักเล็กน้อย และมีต่อมบริเวณรอยหยัก ดอกสีขาวแกมชมพูถึงชมพู ออกเป็นช่อ ก้านดอกยาว 5-10 ซม. ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-7 มม. กลีบดอกมี 5 กลีบ ส่วนโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่กว้าง เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกันล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม เมื่อสุกเป็นสีแดงเข้ม ขนาด 5-7 มม.
- ไม้พุ่ม สูง 0.58-1 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปรีแกมหอก กว้าง 1.5-7 ซม. ยาว 4-20 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่ง ขอบใบหยักเล็กน้อย และมีต่อมบริเวณรอยหยัก ดอกสีขาวแกมชมพูถึงชมพู ออกเป็นช่อ ก้านดอกยาว 5-10 ซม. ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-7 มม. กลีบดอกมี 5 กลีบ ส่วนโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่กว้าง เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกันล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม เมื่อสุกเป็นสีแดงเข้ม ขนาด 5-7 มม.
- ไม้พุ่ม สูง 0.58-1 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปรีแกมหอก กว้าง 1.5-7 ซม. ยาว 4-20 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่ง ขอบใบหยักเล็กน้อย และมีต่อมบริเวณรอยหยัก ดอกสีขาวแกมชมพูถึงชมพู ออกเป็นช่อ ก้านดอกยาว 5-10 ซม. ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-7 มม. กลีบดอกมี 5 กลีบ ส่วนโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่กว้าง เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกันล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม เมื่อสุกเป็นสีแดงเข้ม ขนาด 5-7 มม.
- ไม้พุ่ม สูง 0.58-1 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปรีแกมหอก กว้าง 1.5-7 ซม. ยาว 4-20 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่ง ขอบใบหยักเล็กน้อย และมีต่อมบริเวณรอยหยัก ดอกสีขาวแกมชมพูถึงชมพู ออกเป็นช่อ ก้านดอกยาว 5-10 ซม. ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-7 มม. กลีบดอกมี 5 กลีบ ส่วนโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่กว้าง เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกันล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม เมื่อสุกเป็นสีแดงเข้ม ขนาด 5-7 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ หรือเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 350-1,500 ม. ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ หรือเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 350-1,500 ม. ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ หรือเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 350-1,500 ม. ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ หรือเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 350-1,500 ม. ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พังงา
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง