Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Urochloa ruziziensis
x U. brizantha
Urochloa ruziziensis
x U. brizantha
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Urochloa ruziziensis
(R.Germ. & C.M.Evrard) Crins
ชื่อสามัญ::
-
ISAN
ชื่อไทย:
-
หญ้าอีสาน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Urochloa
วันที่อัพเดท :
9 มิ.ย. 2568 10:52 น.
วันที่สร้าง:
9 มิ.ย. 2568 10:52 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี แตกกอดี ลักษณะลำต้นกึ่งตั้งกึ่งเลื้อย มีรากตามข้อ ให้ผลผลิตสูง เจริญเติบโตเร็วหลังการตัดปรับ คงความเขียวในช่วงหน้าแล้ง ปรับตัวได้ดีใสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน ลักษณะต้นกึ่งเอนราบ ใบธงไม่พบความโค้งหรือพบน้อยมาก มีขนที่แผ่นใบธงทั่วทั้งแผ่นใบมีการกระจายตัวของขนบนแผ่นใบทั้งด้านบนใบและด้านล่างใบพบขนที่กาบใบมากที่ช่อดอกย่อยมีขนมาก สีของเกสรเพศเมียมีสีม่วงเข้ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ความสูงลำต้นเฉลี่ย 123.5 ซม. ความยาวปล้องบริเวณไหลเฉลี่ย13.73 ซม. ความยาวปล้องบริเวณลำต้นเฉลี่ย 14.03 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเฉลี่ย0.37 ซม. ใบธงกว้างเฉลี่ย0.77 ซม. ความยาวแผ่นใบเฉลี่ย 35.26 ซม. ความกว้างแผ่นใบเฉลี่ย 2.54 ซม. ความยาวแกนกลางช่อดอกเฉลี่ย 40.4 ซม. ความยาวก้านช่อดอกย่อยเฉลี่ย 0.27 ซม. ความยาวแกนกลางช่อดอกย่อยเฉลี่ย 7.95 ซม. ขนาดใบกว้าง 1.97 ซม. ความยาวใบ20.2 ซม. กาบใบมีขนกระจายจำนวนมาก
ถิ่นกำเนิด :
-
เป็นหญ้าลูกผสมที่ได้จากงานวิจัยร่วมกันระหว่างญี่ปุ่นกับไทย
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
การขยายพันธุ์ :
-
เมล็ดพันธุ์
ที่มาของข้อมูล
สำนักพัฒนาอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Rinorea lanceolata
Aetheolirion stenolobium
Myrsine semiserrata
Tabernaemontana africana
Pertusaria mundula
ระเห็จคะติดง
Cordisepalum thorelii
Previous
Next