-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ขนาดใหญ่ สูง 15 – 30 เมตร กิ่งออกเกือบตั้งฉากกับลำต้น แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนนุ่มสั้นอยู่ด้านล่าง หูเป็นรูปสามเหลี่ยม ดอกสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อกระจุกแน่น กลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 – 5 ซ.ม. ก้านช่อยาว 3 – 4 ซ.ม. ดอกเล็กอัดกันแน่น กลีบเลี้ยงเป็นหลอดสั้น กลีบดอกสีเหลือง เชื่อมกันเป็นหลอดยาวรูปดอกเข้ม ผลเป็นกระจุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล
-
ไม้ขนาดใหญ่ สูง 15 – 30 เมตร กิ่งออกเกือบตั้งฉากกับลำต้น แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนนุ่มสั้นอยู่ด้านล่าง หูเป็นรูปสามเหลี่ยม ดอกสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อกระจุกแน่น กลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 – 5 ซ.ม. ก้านช่อยาว 3 – 4 ซ.ม. ดอกเล็กอัดกันแน่น กลีบเลี้ยงเป็นหลอดสั้น กลีบดอกสีเหลือง เชื่อมกันเป็นหลอดยาวรูปดอกเข้ม ผลเป็นกระจุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล
-
ไม้ขนาดใหญ่ สูง 15 – 30 เมตร กิ่งออกเกือบตั้งฉากกับลำต้น แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนนุ่มสั้นอยู่ด้านล่าง หูเป็นรูปสามเหลี่ยม ดอกสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อกระจุกแน่น กลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 – 5 ซ.ม. ก้านช่อยาว 3 – 4 ซ.ม. ดอกเล็กอัดกันแน่น กลีบเลี้ยงเป็นหลอดสั้น กลีบดอกสีเหลือง เชื่อมกันเป็นหลอดยาวรูปดอกเข้ม ผลเป็นกระจุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล
-
ไม้ขนาดใหญ่ สูง 15 – 30 เมตร กิ่งออกเกือบตั้งฉากกับลำต้น แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนนุ่มสั้นอยู่ด้านล่าง หูเป็นรูปสามเหลี่ยม ดอกสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อกระจุกแน่น กลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 – 5 ซ.ม. ก้านช่อยาว 3 – 4 ซ.ม. ดอกเล็กอัดกันแน่น กลีบเลี้ยงเป็นหลอดสั้น กลีบดอกสีเหลือง เชื่อมกันเป็นหลอดยาวรูปดอกเข้ม ผลเป็นกระจุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและสีน้ำตาล
-
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย จนถึงมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณ ที่ชุ่มชื้นใกล้น้ำที่ระดับความสูง 500-1500 เมตร
-
จากอินเดีย จนถึงมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณ ที่ชุ่มชื้นใกล้น้ำที่ระดับความสูง 500-1500 เมตร
-
จากอินเดีย จนถึงมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณ ที่ชุ่มชื้นใกล้น้ำที่ระดับความสูง 500-1500 เมตร
-
จากอินเดีย จนถึงมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณ ที่ชุ่มชื้นใกล้น้ำที่ระดับความสูง 500-1500 เมตร
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-20 ม. ขนาดทรงพุ่ม 8-12 ม.ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม กิ่งก้านเรียวเล็กลู่ลง ตายอดมีขนาดใหญ่ กลมและแบน ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นสีน้ำตาลอ่อน หรือเทา เรียบ หรือแตกขนาดตื้นๆ ตามแนวยาวและมีรอยแผลของกิ่ง
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-30 เมตร บางครั้งมีพูพอน ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับลำต้น ปลายกิ่งโน้มลง เปลือกลำต้นเป็นสีเทาแก่ แตกเป็นร่องตามยาว มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยสามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี ส่วนในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมลำธารที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 500-1,500 เมตร
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-30 เมตร บางครั้งมีพูพอน ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับลำต้น ปลายกิ่งโน้มลง เปลือกลำต้นเป็นสีเทาแก่ แตกเป็นร่องตามยาว มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยสามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี ส่วนในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมลำธารที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 500-1,500 เมตร
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-30 เมตร บางครั้งมีพูพอน ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับลำต้น ปลายกิ่งโน้มลง เปลือกลำต้นเป็นสีเทาแก่ แตกเป็นร่องตามยาว มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยสามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี ส่วนในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมลำธารที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 500-1,500 เมตร
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-30 เมตร บางครั้งมีพูพอน ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับลำต้น ปลายกิ่งโน้มลง เปลือกลำต้นเป็นสีเทาแก่ แตกเป็นร่องตามยาว มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยสามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี ส่วนในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมลำธารที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 500-1,500 เมตร
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-20 ม. ขนาดทรงพุ่ม 8-12 ม.ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม กิ่งก้านเรียวเล็กลู่ลง ตายอดมีขนาดใหญ่ กลมและแบน ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นสีน้ำตาลอ่อน หรือเทา เรียบ หรือแตกขนาดตื้นๆ ตามแนวยาวและมีรอยแผลของกิ่ง
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-30 เมตร บางครั้งมีพูพอน ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับลำต้น ปลายกิ่งโน้มลง เปลือกลำต้นเป็นสีเทาแก่ แตกเป็นร่องตามยาว มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยสามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี ส่วนในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมลำธารที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 500-1,500 เมตร
-
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การติดตา
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การติดตา
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การติดตา
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การติดตา
-
การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การติดตา
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
จันทบุรี
-
ลำปาง
-
สุรินทร์