Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pyrenaria garrettiana
Pyrenaria garrettiana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pyrenaria garrettiana
Craib
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
เมี่ยงผี
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Theaceae
สกุล:
Pyrenaria
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง สูง 4-15 เมตร ใบ เดี่ยว รูปรีหรือแกมขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลายใบทู่ ถึงเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบหยัก ดอก สีขาวหรือสีครีม มักออกเดี่ยวตามซอกใบ ดอกบานกว้างประมาณ 1.3 ซม. มีใบประดับ รองรับ กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่ถึงมนกลม ยาว 4-6 มม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ถึงรูปกลม เกสรผู้สีเหลืองส้มจำนวนมาก ก้านเกสรเมีย สีเขียว 5 อัน แยกอิสระ ผล รูปไข่กลับ ยาว 3-3.5 ซม. ผิวเกลี้ยง สีเขียวสดแล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วงเข้ม มีเมล็ด 3-5 เมล็ด เป็นเหลี่ยม
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง สูง 4-15 เมตร ใบ เดี่ยว รูปรีหรือแกมขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลายใบทู่ ถึงเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบหยัก ดอก สีขาวหรือสีครีม มักออกเดี่ยวตามซอกใบ ดอกบานกว้างประมาณ 1.3 ซม. มีใบประดับ รองรับ กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่ถึงมนกลม ยาว 4-6 มม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ถึงรูปกลม เกสรผู้สีเหลืองส้มจำนวนมาก ก้านเกสรเมีย สีเขียว 5 อัน แยกอิสระ ผล รูปไข่กลับ ยาว 3-3.5 ซม. ผิวเกลี้ยง สีเขียวสดแล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วงเข้ม มีเมล็ด 3-5 เมล็ด เป็นเหลี่ยม
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพรรณไม้ถิ่นเดียว ของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นกระจายในป่าดิบแล้ง หรือป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 100-1,850 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
เป็นพรรณไม้ถิ่นเดียว ของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นกระจายในป่าดิบแล้ง หรือป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 100-1,850 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ก่อริ้ว
Castanopsis costata
Eria cepifolia
Smilax microchina
Caulokaempferia chayaniana
Dendrocalamus nudus
มะกิ้ง
Hodgsoia macrocarpa
Previous
Next