Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Naravelia laurifolia
Naravelia laurifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Naravelia laurifolia
Wall.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Kwang du thuk
ชื่อไทย:
-
กวางดูถูก
ชื่อท้องถิ่น::
-
ดอกตาย หลอกตาย อุโซมาติ
-
Kuang Du Thuk
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ranunculales
วงศ์::
Ranunculaceae
สกุล:
Clematis
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อย ยาว 2-6 ม. ลำต้นแข็ง ใบเป็นใบประกอบ เรียงตรงข้าม มีใบย่อยคู่เดียว มีรยางค์เป็นสายยาว ปลายแยกเป็นสามเส้น อยู่ระหว่างคู่ใบย่อย ก้านใบประกอบยาว 4-6 ซม. ใบย่อยรูปไข่ กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-10 ซม. โคนสอบมน ปลายแหลม ขอบเรียบหรือหยักตื้นๆ แผ่นใบหนา สีเขียวเข้ม เส้นแขนงใบออกจากโคนใบ ดอกสีเหลืองอมเขียว ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกสมบูรณ์เพศ รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 3-5 มม. ยาว 6-9 มม. ก้านดอกยาว 1-25 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ สีเขียวแกมม่วง เกสรผู้ไม่สมบูรณ์ ลักษณะคล้ายกลีบดอกมี 6-15 อัน กว้าง 0.1 ซม. ยาว 1-1.5 ซม. เกสรผู้ที่สมบูรณ์ 15-23 อัน เกสรเมียแยกกัน 11-16 อัน ผลแข็งรูปกระสวย มีขนสีขาวคลุมประปราย ปลายขนมีเส้นยาวคล้ายแส้ บิดโค้ง
-
ไม้เถ้าล้มลุก
-
ไม้เลื้อย ยาว 2-6 ม. ลำต้นแข็ง ใบเป็นใบประกอบ เรียงตรงข้าม มีใบย่อยคู่เดียว มีรยางค์เป็นสายยาว ปลายแยกเป็นสามเส้น อยู่ระหว่างคู่ใบย่อย ก้านใบประกอบยาว 4-6 ซม. ใบย่อยรูปไข่ กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-10 ซม. โคนสอบมน ปลายแหลม ขอบเรียบหรือหยักตื้นๆ แผ่นใบหนา สีเขียวเข้ม เส้นแขนงใบออกจากโคนใบ ดอกสีเหลืองอมเขียว ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกสมบูรณ์เพศ รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 3-5 มม. ยาว 6-9 มม. ก้านดอกยาว 1-25 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ สีเขียวแกมม่วง เกสรผู้ไม่สมบูรณ์ ลักษณะคล้ายกลีบดอกมี 6-15 อัน กว้าง 0.1 ซม. ยาว 1-1.5 ซม. เกสรผู้ที่สมบูรณ์ 15-23 อัน เกสรเมียแยกกัน 11-16 อัน ผลแข็งรูปกระสวย มีขนสีขาวคลุมประปราย ปลายขนมีเส้นยาวคล้ายแส้ บิดโค้ง
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียถึงคาบสมุทรอินโดจีน ในประเทศไทยพบขึ้นในป่าโปร่ง ที่ความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 30 ม.
-
จากอินเดียถึงคาบสมุทรอินโดจีน ในประเทศไทยพบขึ้นในป่าโปร่ง ที่ความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 30 ม.
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Leucophanes albescens
Trichodesma calycosum
Closterium acerosum
สะค้าน
Piper pedicellosum
ส้มป่อย
Acacia concinna
เสี้ยวป่า
Bauhinia saccocalyx
Previous
Next