Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Heritiera littoralis
Heritiera littoralis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Heritiera littoralis
Dryand. ex Aiton
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Heritiera minor Bojer
- Samadera littoralis (Aiton) Oken
ชื่อไทย:
-
หงอนไก่ทะเล
ชื่อท้องถิ่น::
-
Du hum
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Malvaceae
สกุล:
Heritiera
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:59 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:59 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น (Tree)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงกลาง สูง 5-15 ม. มีพูพอนต่ำแผ่แบนเป็นครีบบิดไปมา ไม่มีรากหายใจ เปลือกหยาบเป็นเกล็ด มีรอยแตกเป็นร่องลึกตามยาว สีน้ำตาลอมชมพูถึงเทาเข้ม กิ่งแขนงกลมเรียวและมีรอยแผลใบปรากฏเด่นชัด
ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรี รูปขอบขนาน รูปขอบขนานแกมรูปใบหอกหรือรูปรีแกมรูปไข่ พบบ่อยที่มีรูปร่างบิดเบี้ยวไม่แน่นอน ขนาด 5-10x10-22 ซม. โคนใบมนกลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลมสั้นๆ เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบยกตัว สีเหลืองอมเขียว เส้นแขนง 6-8 คู่ เส้นใบย่อยมองเห็นไม่ชัดเจน ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ด้านมีขรูปดาวเล็กๆ สีน้ำตาลกระจายทั่วแผ่นใบ เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนสีเขียวคล้ำ ด้านล่างสีเงินเทาถึงสีเทาขาว แวววาว ก้านใบมีโคนและปลายป่อง ยาว 1.5-2 ซม. อวบ และมีขน ปกคลุม หูใบเล็ก หลุดร่วงง่าย
ดอก แยกเพศอยู่ร่วมต้นเดียวกัน ออกเป็นช่อเชิงลดแยกแขนงตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง หรือเหนือรอยแผลใบ ช่อดอกโปร่ง ยาว 10-20 ซม. ประกอบด้ว ยดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก ดอกย่อยรูประฆังยาว 0.3-0.7 ซม. ผิวด้านนอกสีน้ำตาลแกมเขียว ด้านในสีแดงเข้ม มีขนรูปดาวสั้นนุ่มปกคลุมทั้งสองด้าน ก้านดอกย่อยยาว 0.3-0.8 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปสามเหลี่ยมแคบ ๆ ยาวประมาณ 1/3 ของความยาวทั้งหมด ไม่ปรากฏกลีบ ออกดอกเป็นช่วง ๆ ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม และเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน
ผล แบบผลแห้งมีปีกเดียว รูปทรงรี ขนาด 4-6x5-10 ซม. ด้านล่างแบน ด้านบนโค้งขึ้นและมีสันตามยาว แผ่กว้างออกไปทางปลายผลคล้ายหงอนไก่ เปลือกแข็ง เรียบ สีเขียวเข้มเป็นมันวาว แล้ว ค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เนื้อผลเป็นเส้นใยอัดแน่น ผลแก่ไม่แตก ห้อยลงเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง มักมี 1 เมล็ด ผลแก่ระหว่างเดือน มิถุนายน-กันยายน และเดือน ธันวาคม-กุมภาพันธ์
การกระจายพันธุ์ :
-
ทวีปแอฟริกาตะวันออก อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน หมู่เกาะริวกิว ตลอดจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย นิวคาเลโดเนีย และฮาวาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พังงา
-
ตรัง, สตูล
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA817364
817364
2
PRJNA815625
815625
3
PRJEB49212
787873
4
PRJNA772592
772592
5
PRJNA592291
592291
6
PRJNA555947
555947
7
PRJNA359630
359630
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เข็มขาว
Pavetta humilis
Lasiococca comberi
Torenia ranongensis
Chirita elphinstonia
Cyclosorus lakhimpurense
Ixora lucida
Previous
Next