Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
ltea riparia
ltea riparia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ipomoea digitata
L.
ชื่อไทย:
-
ไคร้งอย
ชื่อท้องถิ่น::
-
ไคร้โคก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Solanales
วงศ์::
Convolvulaceae
สกุล:
ltea
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มกิ่งก้านมาก สูง 1-2 ม. ใบเป็นใบเดี่ยวรูปหอกกลับแกมรี กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 6-10 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอมหวานออกเป็นช่อแกนที่ปลายยอดหรือซอกใบ ช่อดอกยาว 6-12 ซม. ดอกบานเต็มที่ขนาด 1 ซม. ก้านดอกย่อยยาว 0.7 ซม. เกสรผู้ 5 อัน เกสรเมียมีก้านชู 2 อัน ตอนปลายเชื่อมติดกัน มีรังไข่ 2 ห้อง ลักษณะบวมที่ฐานเห็นได้ชัดเจน ผลสีแดงเลือดนก รูปจงอยหัวคว่ำ 2 อันแยกกัน ก้านยาว 0.8-1 ซม. เมื่อแก่จะแตกตามยาวที่ด้านบน
-
ไม้พุ่มกิ่งก้านมาก สูง 1-2 ม. ใบเป็นใบเดี่ยวรูปหอกกลับแกมรี กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 6-10 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอมหวานออกเป็นช่อแกนที่ปลายยอดหรือซอกใบ ช่อดอกยาว 6-12 ซม. ดอกบานเต็มที่ขนาด 1 ซม. ก้านดอกย่อยยาว 0.7 ซม. เกสรผู้ 5 อัน เกสรเมียมีก้านชู 2 อัน ตอนปลายเชื่อมติดกัน มีรังไข่ 2 ห้อง ลักษณะบวมที่ฐานเห็นได้ชัดเจน ผลสีแดงเลือดนก รูปจงอยหัวคว่ำ 2 อันแยกกัน ก้านยาว 0.8-1 ซม. เมื่อแก่จะแตกตามยาวที่ด้านบน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทางตอนเหนือและภาคตะวันออกของประเทศไทยและพม่า ขึ้นตามที่ชื้นบริเวณโขดหินริมลำธารและน้ำตก ที่ระดับความสูงประมาณ 300-900 ม. จากระดับน้ำทะเล ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
-
พบทางตอนเหนือและภาคตะวันออกของประเทศไทยและพม่า ขึ้นตามที่ชื้นบริเวณโขดหินริมลำธารและน้ำตก ที่ระดับความสูงประมาณ 300-900 ม. จากระดับน้ำทะเล ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Trichosteleum boschii
Bulbophyllum stenophyllum
ปอขน
Sterculia cordata
ดอกหรีดลักษณา (ดอกหรีดกอ, ลักษณา)
Gentiana hesseliana
Phaseolus atropurpureus
น้ำนอง
Brownlowia tersa
Previous
Next