Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Gochnatia decora
Gochnatia decora
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Gochnatia decora
(Kurz) Cabrera
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ยาแก้
ชื่อท้องถิ่น::
-
ยาแก้หลวง นิ้วมือต้น
-
Ya kae luang (Central); Yae kae (Northern)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Asterales
วงศ์::
Asteraceae
สกุล:
Leucomeris
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นกึ่งไม้พุ่ม หรือไม้ต้นขนาดเล็กผลัดใบ สูง 4-6 เมตร แตกกิ่งระเกะระกะ ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ขอบใบเรียบ โคนใบเบี้ยวเล็กน้อย ยอดและใบมีขนสีขาวเป็นมันคล้ายเส้นไหม แผ่นใบแก่สีเขียวเข้ม ไม่มีขน ดอกสีขาวจำนวนมาก ออกเป็นช่อกลมตามปลายกิ่ง ผลเล็กเรียว มีกระจุกขนสีขาวคล้ายเส้นไหม ผล จำนวนมาก ออกบนช่อกลม
-
ไม้ต้นกึ่งไม้พุ่ม หรือไม้ต้นขนาดเล็กผลัดใบ สูง 4-6 เมตร แตกกิ่งระเกะระกะ ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ขอบใบเรียบ โคนใบเบี้ยวเล็กน้อย ยอดและใบมีขนสีขาวเป็นมันคล้ายเส้นไหม แผ่นใบแก่สีเขียวเข้ม ไม่มีขน ดอกสีขาวจำนวนมาก ออกเป็นช่อกลมตามปลายกิ่ง ผลเล็กเรียว มีกระจุกขนสีขาวคล้ายเส้นไหม ผล จำนวนมาก ออกบนช่อกลม
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ของไทย ต่างประเทศพบที่พม่าและจีน (ยูนนาน) ขึ้นตามป่าโปร่งบนภูเขา พบทั่วในในป่าสนเขา ป่าก่อ-สนเขา และป่าเบญจพรรณ ระดับความสูง 250-1,700 เมตร ออกดอกและผลเดือน ธันวาคม-พฤษภาคม ขณะออกดอกจะผลัดใบทั้งต้น
-
Burma, S China, N & SW Thailand
-
ภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ของไทย ต่างประเทศพบที่พม่าและจีน (ยูนนาน) ขึ้นตามป่าโปร่งบนภูเขา พบทั่วในในป่าสนเขา ป่าก่อ-สนเขา และป่าเบญจพรรณ ระดับความสูง 250-1,700 เมตร ออกดอกและผลเดือน ธันวาคม-พฤษภาคม ขณะออกดอกจะผลัดใบทั้งต้น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม/ไม้ต้นขนาดเล็ก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous and lower montane pine forests, to 1700 m.
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แม่ฮ่องสอน
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Tribulus cistoides
Solanum roxburgii
ยางยูง
Dipterocarpus grandiflorus
Pseuduvaria phuyensis
Clausena anisata
Plectranthus caninus
Previous
Next