Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Neptunia oleracea
Neptunia oleracea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Neptunia oleracea
Lour.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ผักกระเฉด
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักรู้นอน ผักหนอง ผักละหนอง ผักฉีด
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Neptunia
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชลอยน้ำอายุหลายปี รากออกตามข้อลำต้นกลม มีนวมสีขาวฟูหุ้มช่วยให้ลอยน้ำ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เมื่อถูกสัมผัสจะหุบได้ ก้านใบยาว 2-4 ซม. ใบย่อย 8-18 รูปขอบขนานกว้าง 1.2-3 มม. ยาว 4-10 มม. ขอบใบมีขน ดอก ออกเป็นช่อกลมสีเหลืองขนาดประมาณ 2 ซม. ก้านช่อดอกยาว 5-12 ซม. ดอกย่อยสมบูรณ์เพศอยู่ตรงกลาง กลีบเลี้ยงเชื่อมกันยาว 2.4-3.7 มม. ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ยาว 3-4.3 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ดอกที่เป็นหมันขนาดใหญ่กว่าอยู่ด้านนอก ผล เป็นฝักแบน ขอบขนานกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. แห้งแล้วแตก มี 4-8 เมล็ด รูปไข่
-
พืชลอยน้ำอายุหลายปี รากออกตามข้อลำต้นกลม มีนวมสีขาวฟูหุ้มช่วยให้ลอยน้ำ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เมื่อถูกสัมผัสจะหุบได้ ก้านใบยาว 2-4 ซม. ใบย่อย 8-18 รูปขอบขนานกว้าง 1.2-3 มม. ยาว 4-10 มม. ขอบใบมีขน ดอก ออกเป็นช่อกลมสีเหลืองขนาดประมาณ 2 ซม. ก้านช่อดอกยาว 5-12 ซม. ดอกย่อยสมบูรณ์เพศอยู่ตรงกลาง กลีบเลี้ยงเชื่อมกันยาว 2.4-3.7 มม. ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ยาว 3-4.3 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ดอกที่เป็นหมันขนาดใหญ่กว่าอยู่ด้านนอก ผล เป็นฝักแบน ขอบขนานกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. แห้งแล้วแตก มี 4-8 เมล็ด รูปไข่
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นในเขตร้อนทั่วไป ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ชาวบ้าน
-
พบขึ้นในเขตร้อนทั่วไป ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ชาวบ้าน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,ทำยา
ที่มาของข้อมูล
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Mussaenda Dona
กระดอม
Gymnopetalum chinense
Ardisia curvistyla
เทียนธารา
Impatiens mengtzeana
Habenaria stenopetala
Rinorea anguifera
Previous
Next