Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Dendrobium dixanthun
Dendrobium dixanthun
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Dendrobium cariniferum
Rchb.f.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Callista dixantha (Rchb.f.) Kuntze
ชื่อไทย:
-
เอื้องคำปอน
ชื่อท้องถิ่น::
-
เอื้องคำป่า เอื้องคำปิว เอื้องไผ่ เอื้องเทียน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Dendrobium
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นสีเหลืองเข้ม รูปยาวคล้ายแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-0.7 ซม. ปลายสอบเรียว ใบ แบน รูปคล้ายใบหญ้า กว้าง 0.7-1 ซม. ยาว 5-7 ซม. ทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก ออกเป็นช่อ ตามข้อใกล้ปลายยอด จำนวน 2-3 ดอกต่อช่อ สีเหลืองเข้ม กลีบปากแผ่กว้าง ตรงกลางเว้า ขอบหยักละเอียด ดอกบานเต็มที่กว้าง 3.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 300-1,000 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นสีเหลืองเข้ม รูปยาวคล้ายแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-0.7 ซม. ปลายสอบเรียว ใบ แบน รูปคล้ายใบหญ้า กว้าง 0.7-1 ซม. ยาว 5-7 ซม. ทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก ออกเป็นช่อ ตามข้อใกล้ปลายยอด จำนวน 2-3 ดอกต่อช่อ สีเหลืองเข้ม กลีบปากแผ่กว้าง ตรงกลางเว้า ขอบหยักละเอียด ดอกบานเต็มที่กว้าง 3.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 300-1,000 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นสีเหลืองเข้ม รูปยาวคล้ายแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-0.7 ซม. ปลายสอบเรียว ใบ แบน รูปคล้ายใบหญ้า กว้าง 0.7-1 ซม. ยาว 5-7 ซม. ทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก ออกเป็นช่อ ตามข้อใกล้ปลายยอด จำนวน 2-3 ดอกต่อช่อ สีเหลืองเข้ม กลีบปากแผ่กว้าง ตรงกลางเว้า ขอบหยักละเอียด ดอกบานเต็มที่กว้าง 3.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 300-1,000 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นสีเหลืองเข้ม รูปยาวคล้ายแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-0.7 ซม. ปลายสอบเรียว ใบ แบน รูปคล้ายใบหญ้า กว้าง 0.7-1 ซม. ยาว 5-7 ซม. ทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก ออกเป็นช่อ ตามข้อใกล้ปลายยอด จำนวน 2-3 ดอกต่อช่อ สีเหลืองเข้ม กลีบปากแผ่กว้าง ตรงกลางเว้า ขอบหยักละเอียด ดอกบานเต็มที่กว้าง 3.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 300-1,000 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
การกระจายพันธุ์ :
-
เมียนม่าร์ ไทย และลาว
-
เมียนม่าร์ ไทย และลาว
-
เมียนม่าร์ ไทย และลาว
-
เมียนม่าร์ ไทย และลาว
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lindernia pusilla
ว่านนางตาม, ว่านจูงนาง
Eulophia recurva
Polygonum multiflorum
สะเดาแดง
Ganophyllum falcatum
Eugenia formosa
Agelaea trinervis
Previous
Next