Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Monochoria elata
Monochoria elata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Monochoria elata
Ridl.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
โพลงก้านเหลี่ยม
-
โพลง
ชื่อท้องถิ่น::
-
สิมพลี
-
โพลง
-
Phlong
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Commelinales
วงศ์::
Pontederiaceae
สกุล:
Monochoria
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:36 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:36 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Perennial herbs.
-
พืชล้มลุกมีเหง้าอยู่ใต้ดิน ลำต้นเหนือดินเจริญได้สูงถึง 1.2-1.5 ม. ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปหัวลูกศร กว้าง 3-5 ซม. ยาว 5-7.5 ซม. ผิวใบเกลี้ยงเป็นมัน ดอก สีฟ้าอมม่วงออกเป็นช่อ จากส่วนปลายของก้านใบ ยาว 10-20 ซม. มีใบประดับรองรับ ดอกย่อยขนาดผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 ชั้น เกสรผู้ 6 อัน ปลายเกสรเพศเมียแยกเป็น 6 แฉก ผล เป็นผลเดี่ยวแห้งแล้วแตก รูปรีถึงกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาลขนาดประมาณ 7 มม.
-
พืชชายน้ำ
-
พืชล้มลุกมีเหง้าอยู่ใต้ดิน ลำต้นเหนือดินเจริญได้สูงถึง 1.2-1.5 ม. ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปหัวลูกศร กว้าง 3-5 ซม. ยาว 5-7.5 ซม. ผิวใบเกลี้ยงเป็นมัน ดอก สีฟ้าอมม่วงออกเป็นช่อ จากส่วนปลายของก้านใบ ยาว 10-20 ซม. มีใบประดับรองรับ ดอกย่อยขนาดผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 ชั้น เกสรผู้ 6 อัน ปลายเกสรเพศเมียแยกเป็น 6 แฉก ผล เป็นผลเดี่ยวแห้งแล้วแตก รูปรีถึงกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาลขนาดประมาณ 7 มม.
ระบบนิเวศ :
-
In paddy fields.
การกระจายพันธุ์ :
-
Peninsular Malaysia.
-
ในประเทศไทยพบในภาคกลาง ภาคอีสาน และทางภาคใต้ ชอบขึ้นในพื้นที่มีน้ำขัง ตามข้างทาง หรือนาข้าว ออกดอกตลอดปี
-
ในประเทศไทยพบในภาคกลาง ภาคอีสาน และทางภาคใต้ ชอบขึ้นในพื้นที่มีน้ำขัง ตามข้างทาง หรือนาข้าว ออกดอกตลอดปี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Bangkok,Phatthalung
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
มีดอกม่วงสวยงาม ใช้ประดับได้
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Angelica sylvestris
Shuteria involucrata
Pinanga scortechinii
Hedychium thaimontanum
Pertusaria lordhowensis
เนียง
Archidendron jiringa
Previous
Next