ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 8-20 เมตร ลำต้น สั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น พูพอนแผ่เป็นคีบ คดเคี้ยวคล้ายริบบิ้นต่อเนื่องกับรากหายใจที่แบนคล้ายแผ่นกระดาน เปลือกเรียบบางสีเหลืองแต้มเขียวอ่อน สีน้ำตาลอ่อน หรือน้ำตาลแกมชมพู หลุดออกเป็นแผ่นบางๆ รูปร่างไม่แน่นอนคล้ายเปลือกต้นฝรั่ง
หรือตะแบก ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับห่างๆ ใบย่อย 1-2 คู่ รูปไข่กลับ
หรือรูปรี ปลายใบกลม มน โคนสอบแคบ เนื้อหนาคล้ายหนัง ดอก สีขาวครีมหรือสีขมพูเข้ม ออกเป็น
ช่อกระจุกแยกแขนงกางออก เกิดบนกิ่งอ่อนหรือกิ่งแก่ ผล แห้งเกือบกลม ขนาดใหญ่ ห้อยลง เมล็ดมีขนาดใหญ่รูปพีระมิด
หรือตะแบก ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับห่างๆ ใบย่อย 1-2 คู่ รูปไข่กลับ
หรือรูปรี ปลายใบกลม มน โคนสอบแคบ เนื้อหนาคล้ายหนัง ดอก สีขาวครีมหรือสีขมพูเข้ม ออกเป็น
ช่อกระจุกแยกแขนงกางออก เกิดบนกิ่งอ่อนหรือกิ่งแก่ ผล แห้งเกือบกลม ขนาดใหญ่ ห้อยลง เมล็ดมีขนาดใหญ่รูปพีระมิด
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงกลาง สูง ๘ - ๒๐ เมตร โคนต้นมีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยวต่อเนื่องกับรากหายใจที่แบนคล้ายแผ่นกระดาน เปลือกเรียบบาง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงสลับ ใบย่อย ๑ - ๒ คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ กว้าง ๒ - ๕ ซม. ยาว ๗ - ๑๔ ซม. ปลายใบมน โคนใบสอบ ดอกออกเป็นช่อตามกิ่ง แต่ละช่อมี ๘ - ๒๐ ดอก ดอกแยกเพศ กลีบเลี้ยง ๔ กลีบ กลีบดอก ๔ กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ ๘ ผมกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๕ - ๒๐ ซม. แบ่งเป็น ๔ พู เท่าๆ กัน แต่ละผลมี ๗ - ๑๗ อัน เมล็ด ลักษณะโค้งนูน หนึ่งด้าน กว้าง ๖ - ๑๐ ซม. ผลแก่สีน้ำตาลแดง
-
ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงกลาง สูง 8-20 ม. ไม่ผลัดใบ ลำต้นสั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น มีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยวคล้ายริบบิ้นต่อเนื่องกับรากหายใจที่แบนคล้ายแผ่นกระดาษ เปลือกเรียบบาง สีเหลืองแต้มเขียวอ่อน หรือสีน้ำตาลอ่อนถึงน้ำตาลแกมชมพู ลักษณะคล้ายเปลือกต้นฝรั่งหรือตะแบก เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นรูปทรงไม่แน่นอน
ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับห่าง ๆ ก้านช่อใบสีน้ำตาล แข็ง โคนป่อง ยาวไล่เลี่ยกับแกนกลางช่อใบ ยาว 2-4 ซม. ประกอบด้วยใบย่อย 1-2 คู่ แผ่นใบย่อยสมมาตร รูปไข่กลับถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ขนาด 2-5x6-14 ซม. โคนใบสอบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ปลายใบมนกลมหรือเว้าตื้น เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบด้านบนราบถึงยกตัวเล็กน้อย เส้นแขนง 6-10 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวคล้ำ ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบหนาถึงอวบน้ำ ใบแก่ก่อนร่วงสีส้มอมเหลือง ก้านใบย่อยสีน้ำตาลแข็ง ยาว 0.5-1 ซม.
ดอก แยกเพศอยู่ร่วมต้น แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนง ออกเป็นช่อที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ช่อดอกโปร่งแตกแขนงไม่สมมาตร ยาว 3-8 ซม. แต่ละช่อมี 8-20 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก สีนวล เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.2 ซม. เป็นดอกแยกเพศ ก้านดอกย่อยยาว 0.4-1 ซม. ปลายก้านบวมพอง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปขอบขนานแยกกันเป็นอิสระ สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอมตั้งแต่บ่ายถึงค่ำ
ผล ลักษณะกลม ขนาดใหญ่คล้ายส้มโอ เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-25 ซม. แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผล มี 7-17 เมล็ด ลักษณะโค้งนูนหนึ่งด้าน กว้าง 6-10 ซม. ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม เปลือกเมล็ดชั้นนอกเป็นคอร์กหนา สีน้ำตาล เบา ลอยน้ำได้
ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับห่าง ๆ ก้านช่อใบสีน้ำตาล แข็ง โคนป่อง ยาวไล่เลี่ยกับแกนกลางช่อใบ ยาว 2-4 ซม. ประกอบด้วยใบย่อย 1-2 คู่ แผ่นใบย่อยสมมาตร รูปไข่กลับถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ขนาด 2-5x6-14 ซม. โคนใบสอบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ปลายใบมนกลมหรือเว้าตื้น เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบด้านบนราบถึงยกตัวเล็กน้อย เส้นแขนง 6-10 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวคล้ำ ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบหนาถึงอวบน้ำ ใบแก่ก่อนร่วงสีส้มอมเหลือง ก้านใบย่อยสีน้ำตาลแข็ง ยาว 0.5-1 ซม.
ดอก แยกเพศอยู่ร่วมต้น แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนง ออกเป็นช่อที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ช่อดอกโปร่งแตกแขนงไม่สมมาตร ยาว 3-8 ซม. แต่ละช่อมี 8-20 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก สีนวล เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.2 ซม. เป็นดอกแยกเพศ ก้านดอกย่อยยาว 0.4-1 ซม. ปลายก้านบวมพอง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปขอบขนานแยกกันเป็นอิสระ สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอมตั้งแต่บ่ายถึงค่ำ
ผล ลักษณะกลม ขนาดใหญ่คล้ายส้มโอ เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-25 ซม. แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผล มี 7-17 เมล็ด ลักษณะโค้งนูนหนึ่งด้าน กว้าง 6-10 ซม. ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม เปลือกเมล็ดชั้นนอกเป็นคอร์กหนา สีน้ำตาล เบา ลอยน้ำได้
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงกลาง สูง ๘ - ๒๐ เมตร โคนต้นมีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยวต่อเนื่องกับรากหายใจที่แบนคล้ายแผ่นกระดาน เปลือกเรียบบาง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงสลับ ใบย่อย ๑ - ๒ คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ กว้าง ๒ - ๕ ซม. ยาว ๗ - ๑๔ ซม. ปลายใบมน โคนใบสอบ ดอกออกเป็นช่อตามกิ่ง แต่ละช่อมี ๘ - ๒๐ ดอก ดอกแยกเพศ กลีบเลี้ยง ๔ กลีบ กลีบดอก ๔ กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ ๘ ผมกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๕ - ๒๐ ซม. แบ่งเป็น ๔ พู เท่าๆ กัน แต่ละผลมี ๗ - ๑๗ อัน เมล็ด ลักษณะโค้งนูน หนึ่งด้าน กว้าง ๖ - ๑๐ ซม. ผลแก่สีน้ำตาลแดง
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 8-20 เมตร
ลำต้น : สั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น พูพอนแผ่เป็นคีบ คดเคี้ยวคล้ายริบบิ้นต่อเนื่องกับรากหายใจที่แบนคล้ายแผ่นกระดาน เปลือกเรียบบางสีเหลืองแต้มเขียวอ่อน สีน้ำตาลอ่อน หรือน้ำตาลแกมชมพู หลุดออกเป็นแผ่นบางๆ รูปร่างไม่แน่นอนคล้ายเปลือกต้นฝรั่งหรือตะแบก
ใบ : ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับห่างๆ ใบย่อย 1-2 คู่ รูปไข่กลับหรือรูปรี ปลายใบกลม มน โคนสอบแคบ เนื้อหนาคล้ายหนัง
ดอก : สีขาวครีมหรือสีขมพูเข้ม ออกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงกางออก เกิดบนกิ่งอ่อนหรือกิ่งแก่
ผล : แห้งเกือบกลม ขนาดใหญ่ ห้อยลง เมล็ดมีขนาดใหญ่รูปพีระมิด
ลำต้น : สั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น พูพอนแผ่เป็นคีบ คดเคี้ยวคล้ายริบบิ้นต่อเนื่องกับรากหายใจที่แบนคล้ายแผ่นกระดาน เปลือกเรียบบางสีเหลืองแต้มเขียวอ่อน สีน้ำตาลอ่อน หรือน้ำตาลแกมชมพู หลุดออกเป็นแผ่นบางๆ รูปร่างไม่แน่นอนคล้ายเปลือกต้นฝรั่งหรือตะแบก
ใบ : ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับห่างๆ ใบย่อย 1-2 คู่ รูปไข่กลับหรือรูปรี ปลายใบกลม มน โคนสอบแคบ เนื้อหนาคล้ายหนัง
ดอก : สีขาวครีมหรือสีขมพูเข้ม ออกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงกางออก เกิดบนกิ่งอ่อนหรือกิ่งแก่
ผล : แห้งเกือบกลม ขนาดใหญ่ ห้อยลง เมล็ดมีขนาดใหญ่รูปพีระมิด
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าชายเลน มักอยู่ด้านหน้าตามชายฝั่ง พบขึ้นปนกับต้นจาก ลำพู และลำแพน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
-
พังงา
-
สมุทรปราการ
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บางกระเจ้า
-
ป่าชายเลนคุระบุรี, อ่าวจาก คลองคุระบุรี ชายฝั่งคุระบุรี
-
พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามชายฝั่งทะเลในเขตร้อนชื้น ตั้งแต่แอฟริกา เอเชีย จนถึงออสเตรเลีย
-
แอฟริกาตะวันออก ศรีลังกา อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไหหลำ ตลอดถึงหมู่เกาะโซโลมอนและตองกา
-
พบตามชายฝั่งทะเลในเขตร้อนชื้น ตั้งแต่แอฟริกา เอเชีย จนถึงออสเตรเลีย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก (Small tree)
-
- ต้นตะบูนขาว :เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 8-20 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากพิเศษออกตามลำต้น เป็นรากหายใจ หรือ รากค้ำจุน ลักษณะแบนคล้ายแผ่นกระดานบ้าง กลมบ้าง ทอดตัวในแนวรัศมีรอบลำต้น ลำต้นสั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น มีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยว ต่อเนื่องกับรากหายใจ เปลือกเรียบบาง สีเหลืองแต้มเขียวอ่อน หรือสีน้ำตาลอ่อน ถึงน้ำตาลแกมชมพู ลักษณะคล้ายเปลือกต้นฝรั่ง หรือตะแบก เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นรูปทรงไม่แน่นอน
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
-
- ต้นตะบูนขาว :เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 8-20 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากพิเศษออกตามลำต้น เป็นรากหายใจ หรือ รากค้ำจุน ลักษณะแบนคล้ายแผ่นกระดานบ้าง กลมบ้าง ทอดตัวในแนวรัศมีรอบลำต้น ลำต้นสั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น มีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยว ต่อเนื่องกับรากหายใจ เปลือกเรียบบาง สีเหลืองแต้มเขียวอ่อน หรือสีน้ำตาลอ่อน ถึงน้ำตาลแกมชมพู ลักษณะคล้ายเปลือกต้นฝรั่ง หรือตะแบก เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นรูปทรงไม่แน่นอน
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
-
- ต้นตะบูนขาว :เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 8-20 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากพิเศษออกตามลำต้น เป็นรากหายใจ หรือ รากค้ำจุน ลักษณะแบนคล้ายแผ่นกระดานบ้าง กลมบ้าง ทอดตัวในแนวรัศมีรอบลำต้น ลำต้นสั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น มีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยว ต่อเนื่องกับรากหายใจ เปลือกเรียบบาง สีเหลืองแต้มเขียวอ่อน หรือสีน้ำตาลอ่อน ถึงน้ำตาลแกมชมพู ลักษณะคล้ายเปลือกต้นฝรั่ง หรือตะแบก เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นรูปทรงไม่แน่นอน
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
-
- ต้นตะบูนขาว :เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 8-20 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากพิเศษออกตามลำต้น เป็นรากหายใจ หรือ รากค้ำจุน ลักษณะแบนคล้ายแผ่นกระดานบ้าง กลมบ้าง ทอดตัวในแนวรัศมีรอบลำต้น ลำต้นสั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น มีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยว ต่อเนื่องกับรากหายใจ เปลือกเรียบบาง สีเหลืองแต้มเขียวอ่อน หรือสีน้ำตาลอ่อน ถึงน้ำตาลแกมชมพู ลักษณะคล้ายเปลือกต้นฝรั่ง หรือตะแบก เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นรูปทรงไม่แน่นอน
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
-
- ต้นตะบูนขาว :เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 8-20 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากพิเศษออกตามลำต้น เป็นรากหายใจ หรือ รากค้ำจุน ลักษณะแบนคล้ายแผ่นกระดานบ้าง กลมบ้าง ทอดตัวในแนวรัศมีรอบลำต้น ลำต้นสั้น แตกกิ่งใกล้โคนต้น มีพูพอนแผ่ออกคดเคี้ยว ต่อเนื่องกับรากหายใจ เปลือกเรียบบาง สีเหลืองแต้มเขียวอ่อน หรือสีน้ำตาลอ่อน ถึงน้ำตาลแกมชมพู ลักษณะคล้ายเปลือกต้นฝรั่ง หรือตะแบก เปลือกหลุดออกเป็นแผ่นรูปทรงไม่แน่นอน
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ไม่มีใบยอด เรียงสลับ ใบย่อยมักมี 1-2 คู่ เรียงตรงข้าม หรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานแกมรูบไข่กลับ แผ่นใบสมมาตรกัน ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม
- ดอก : ออกเป็นช่อที่ง่ามใบ ช่อดอก แบบช่อแยกแขนง แต่ละช่อมี 8-20 ดอก เป็นดอกแยกเพศ มีก้านดอกย่อย มีกลีบเลื้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ตั้งแต่บ่ายถึงคํ่า
- ผล : ลักษณะกลม แบ่งเป็น 4 พู เท่า ๆ กัน แต่ละผลมี 7-17 เมล็ด ลักษณะโคังนูนหนึ่งด้าน ผลแก่สีน้ำตาลแดงคล้ายผลทับทิม
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
ทุกส่วน ราก เปลือกต้น ผล เมล็ด
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ทุกส่วน : เป็นยาฝาดสมาน แต่มีฤทธิ์มากขึ้นในรากและเปลือกต้น
ราก : แก้อหิวาตกโรค
เปลือกต้น/ผล : แก้บิด แก้ท้องเสีย เป็นยาฝาดสมาน เปลือกผลใช้พอกแก้บวม
ผล/เมล็ด : แก้ท้องร่วง เป็นยาบำรุง แก้ไอ แก้ลงแดง เถ้าจากเมล็ดแก้โรคหิด
-
ทำสีย้อมผ้า โดยนำเปลือกต้มน้ำพร้อมกับผ้า
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2010)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2010)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2010)
ที่มาของข้อมูล
-
กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 3 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศทะเลและชายฝั่ง, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
ไม้ต้นที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร และควรนำมาขยายพันธุ์เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน, กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
IUCN Red List
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง