ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- Creeping palm.
- ไม้ปาล์มพุ่มแตกกอขนาดกลาง มักอยู่รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลางโคนต้น 30-60 ซม. มีส่วนของกาบใบและก้านใบเก่าที่ไม่หลุดร่วงหุ้มลำต้นเป็นเหง้าลักษณะคล้ายฟองน้ำ มักแตกแขนงแยกเป็นสองง่ามตามแนวระนาบ มีรากอวบอ้วน อัดแน่นอยู่ใต้เหง้ารอบกอ
ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ตั้งตรงหรือเอน จำนวน 10-15 ทาง ช่อใบรูปหอก ยาว 4-8 ม. เรียงเวียนสลับซ้อนกันเป็นกระจุกแบบกลีบกุหลาบ ก้านใบอวบอ้วน ยาว 30-100 ซม. กาบใบขนาดใหญ่ อวบ แข็ง โคนกาบแยกเป็นแฉกลึก ไม่มีเส้นใยหรือรก มีชั้นเนื้อเยื่อภายในคล้ายฟองน้ำ ผิวนอกเกลี้ยง เป็นมัน ประกอบด้วยใบย่อยรูปแถบแกมรูปหอก โคนใบย่อยเชื่อมติดกับแกนกลาง ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม เส้นใบแบบขนานตามความยาวของใบ เนื้อใบแข็ง หนา คล้ายแผ่นหนัง ด้านบน สีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีเขียวอมเหลือง
ดอก ดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น ออกเป็นช่อ 3-5 ช่อ ตามง่ามใบใกล้ปลายยอด ช่อดอกตั้งตรงและ อยู่เหนือระดับน้ำท่วมถึง ก้าน ช่อดอกอวบอ้วน ยาว 80-70 ซม. หุ้มด้วยใบประดับย่อยสีส้ม กาบหุ้มช่อดอกขนาดใหญ่ คล้ายรูปเรือ ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจุกแน่น ดอกตูมรูปทรงกลม สีเหลืองนวล อกที่ปลายยอดของแกนช่อ ล้อมรบด้วยแขนงช่อดอกเพศผู้ 6-9 แขนง แต่ละแขนงประกอบด้วย ช่อดอกย่อแบบช่หางกระรอก คล้ายรูปกระบง สีเหลืองเข้ม ยาว 10-15 ซม. ออกดอกระหว่างเดืนมีนาคม-พฤษภาคม
ผล แบบผลเมล็ดเดียวแข็ง ออกเป็นช่อโน้มลง แต่ละช่อประกอบด้วยผลย่อยจำนวนมากอัดกันแน่นเป็นผลรวมขนาดใหญ่ รูปทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 30 ซม. ผลย่อยแข็งเป็นเหลี่ยมรูปทรงไข่กลับ ขนาด 7-10x10-15 ซม. เปลือกผลสีน้ำตาลเข้มเป็นมัน ผนังผลชั้นกลางเป็นเส้นใยอัดกันแน่น ผนังผลชั้นในหนา แข็ง เมล็ดรูปไข่ สีขาวใส ขนาด 2-3x3-5 ซม. มี 1 เมล็ด ผลแห้งติดอยู่บนต้น ก่อนร่วงหล่น ออกผลระหว่างเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
ระบบนิเวศ :
- Mangrove forest.
การกระจายพันธุ์ :
- Sri Lanka across SE Asia, Tropical Australia, Solomon Islands.
- ประเทศอินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย และหมู่เกาะโซโลมอน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- Bangkok,SamutSakhon,Trat,Phatthalung,Songkhla,Satun
- พังงา
- สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
- ป่าชายเลนคุระบุรี, อ่าวจาก คลองคุระบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่ม (Shrub)
- ลำต้น เป็นเหง้าใต้ดินหรือโผล่เหนือดิน มักเรียกว่า หินจาก ต้นเกิดติดกันเป็นกลุ่มกอ มีลักษณะอ้วนสั้น และแบน แตกออกเป็น 2 ง่าม โดยเยื่อของส่วนลำต้น และโคนก้านใบมีโพรงอากาศ เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 5-8 เมตร ลำต้นใหม่อาจเกิดจากการแตกกอใหม่หรือเกิดจากเมล็ดใหม่ที่เกิดใกล้กับต้นเก่าเรียงซ้อนกันแน่น
ราก เป็นระบบรากฝอย แตกออกจากด้านล่างของลำต้น จำนวนของรากต่อต้นจำนวนมาก และมีขนาดยาว ทำให้พื้นที่โดยรอบลำต้นจะกระจุกตัวด้วยรากจำนวนมาก
ใบ: ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงช้าม ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 5-6 เซนติเมตร ยาว 90-120 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบหนา รูปรางน้ำคว่ำ ผิวใบด้านบน สีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีสีนวล กาบใบใหญ่ห่อโคนต้น ก้านใบที่แตกใหม่เป็นสีม่วงแดง
ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นระหว่างกาบใบ ดอกแยกเพศร่วมต้น ช่อดอกชูตั้งขึ้น และโค้งลง ยาว 25-65 เซนติเมตร
ผล ผลสดแบบผลกลุ่ม มีผลย่อยจำนวนมาก รูปทรงไข่กลับ แบนและนูนตรงกลาง สีน้ำตาลเป็นมัน กว้าง 3-10 เซนติเมตร ยาว 6.5-7.5 เซนติเมตร มีสันแหลมหรือมีร่องผล 9-10 ร่อง เมล็ดรูปไข่ สีขาว
- ลำต้น เป็นเหง้าใต้ดินหรือโผล่เหนือดิน มักเรียกว่า หินจาก ต้นเกิดติดกันเป็นกลุ่มกอ มีลักษณะอ้วนสั้น และแบน แตกออกเป็น 2 ง่าม โดยเยื่อของส่วนลำต้น และโคนก้านใบมีโพรงอากาศ เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 5-8 เมตร ลำต้นใหม่อาจเกิดจากการแตกกอใหม่หรือเกิดจากเมล็ดใหม่ที่เกิดใกล้กับต้นเก่าเรียงซ้อนกันแน่น
ราก เป็นระบบรากฝอย แตกออกจากด้านล่างของลำต้น จำนวนของรากต่อต้นจำนวนมาก และมีขนาดยาว ทำให้พื้นที่โดยรอบลำต้นจะกระจุกตัวด้วยรากจำนวนมาก
ใบ: ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงช้าม ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 5-6 เซนติเมตร ยาว 90-120 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบหนา รูปรางน้ำคว่ำ ผิวใบด้านบน สีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีสีนวล กาบใบใหญ่ห่อโคนต้น ก้านใบที่แตกใหม่เป็นสีม่วงแดง
ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นระหว่างกาบใบ ดอกแยกเพศร่วมต้น ช่อดอกชูตั้งขึ้น และโค้งลง ยาว 25-65 เซนติเมตร
ผล ผลสดแบบผลกลุ่ม มีผลย่อยจำนวนมาก รูปทรงไข่กลับ แบนและนูนตรงกลาง สีน้ำตาลเป็นมัน กว้าง 3-10 เซนติเมตร ยาว 6.5-7.5 เซนติเมตร มีสันแหลมหรือมีร่องผล 9-10 ร่อง เมล็ดรูปไข่ สีขาว
- ลำต้น เป็นเหง้าใต้ดินหรือโผล่เหนือดิน มักเรียกว่า หินจาก ต้นเกิดติดกันเป็นกลุ่มกอ มีลักษณะอ้วนสั้น และแบน แตกออกเป็น 2 ง่าม โดยเยื่อของส่วนลำต้น และโคนก้านใบมีโพรงอากาศ เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 5-8 เมตร ลำต้นใหม่อาจเกิดจากการแตกกอใหม่หรือเกิดจากเมล็ดใหม่ที่เกิดใกล้กับต้นเก่าเรียงซ้อนกันแน่น
ราก เป็นระบบรากฝอย แตกออกจากด้านล่างของลำต้น จำนวนของรากต่อต้นจำนวนมาก และมีขนาดยาว ทำให้พื้นที่โดยรอบลำต้นจะกระจุกตัวด้วยรากจำนวนมาก
ใบ: ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงช้าม ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 5-6 เซนติเมตร ยาว 90-120 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบหนา รูปรางน้ำคว่ำ ผิวใบด้านบน สีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีสีนวล กาบใบใหญ่ห่อโคนต้น ก้านใบที่แตกใหม่เป็นสีม่วงแดง
ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นระหว่างกาบใบ ดอกแยกเพศร่วมต้น ช่อดอกชูตั้งขึ้น และโค้งลง ยาว 25-65 เซนติเมตร
ผล ผลสดแบบผลกลุ่ม มีผลย่อยจำนวนมาก รูปทรงไข่กลับ แบนและนูนตรงกลาง สีน้ำตาลเป็นมัน กว้าง 3-10 เซนติเมตร ยาว 6.5-7.5 เซนติเมตร มีสันแหลมหรือมีร่องผล 9-10 ร่อง เมล็ดรูปไข่ สีขาว
- ลำต้น เป็นเหง้าใต้ดินหรือโผล่เหนือดิน มักเรียกว่า หินจาก ต้นเกิดติดกันเป็นกลุ่มกอ มีลักษณะอ้วนสั้น และแบน แตกออกเป็น 2 ง่าม โดยเยื่อของส่วนลำต้น และโคนก้านใบมีโพรงอากาศ เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 5-8 เมตร ลำต้นใหม่อาจเกิดจากการแตกกอใหม่หรือเกิดจากเมล็ดใหม่ที่เกิดใกล้กับต้นเก่าเรียงซ้อนกันแน่น
ราก เป็นระบบรากฝอย แตกออกจากด้านล่างของลำต้น จำนวนของรากต่อต้นจำนวนมาก และมีขนาดยาว ทำให้พื้นที่โดยรอบลำต้นจะกระจุกตัวด้วยรากจำนวนมาก
ใบ: ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงช้าม ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 5-6 เซนติเมตร ยาว 90-120 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบหนา รูปรางน้ำคว่ำ ผิวใบด้านบน สีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีสีนวล กาบใบใหญ่ห่อโคนต้น ก้านใบที่แตกใหม่เป็นสีม่วงแดง
ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นระหว่างกาบใบ ดอกแยกเพศร่วมต้น ช่อดอกชูตั้งขึ้น และโค้งลง ยาว 25-65 เซนติเมตร
ผล ผลสดแบบผลกลุ่ม มีผลย่อยจำนวนมาก รูปทรงไข่กลับ แบนและนูนตรงกลาง สีน้ำตาลเป็นมัน กว้าง 3-10 เซนติเมตร ยาว 6.5-7.5 เซนติเมตร มีสันแหลมหรือมีร่องผล 9-10 ร่อง เมล็ดรูปไข่ สีขาว
- ลำต้น เป็นเหง้าใต้ดินหรือโผล่เหนือดิน มักเรียกว่า หินจาก ต้นเกิดติดกันเป็นกลุ่มกอ มีลักษณะอ้วนสั้น และแบน แตกออกเป็น 2 ง่าม โดยเยื่อของส่วนลำต้น และโคนก้านใบมีโพรงอากาศ เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 5-8 เมตร ลำต้นใหม่อาจเกิดจากการแตกกอใหม่หรือเกิดจากเมล็ดใหม่ที่เกิดใกล้กับต้นเก่าเรียงซ้อนกันแน่น
ราก เป็นระบบรากฝอย แตกออกจากด้านล่างของลำต้น จำนวนของรากต่อต้นจำนวนมาก และมีขนาดยาว ทำให้พื้นที่โดยรอบลำต้นจะกระจุกตัวด้วยรากจำนวนมาก
ใบ: ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงช้าม ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 5-6 เซนติเมตร ยาว 90-120 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบหนา รูปรางน้ำคว่ำ ผิวใบด้านบน สีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีสีนวล กาบใบใหญ่ห่อโคนต้น ก้านใบที่แตกใหม่เป็นสีม่วงแดง
ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นระหว่างกาบใบ ดอกแยกเพศร่วมต้น ช่อดอกชูตั้งขึ้น และโค้งลง ยาว 25-65 เซนติเมตร
ผล ผลสดแบบผลกลุ่ม มีผลย่อยจำนวนมาก รูปทรงไข่กลับ แบนและนูนตรงกลาง สีน้ำตาลเป็นมัน กว้าง 3-10 เซนติเมตร ยาว 6.5-7.5 เซนติเมตร มีสันแหลมหรือมีร่องผล 9-10 ร่อง เมล็ดรูปไข่ สีขาว
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
ข้อมูลภูมิปัญญา
- จากธรรมชาติสู่ขนมภูมิปัญญาท้องถิ่น :: โดยปกติแล้ว ธรรมชาติมักจะมีความสัมพันธ์กับมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นยุสมัยใดก็ตาม ซึ่งเห็นได้จากการนำสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากธรรมชาติมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การนำมาทำเป็นอาหารเพื่อรับประทาน การนำมาทำเป็นเครื่องนุ่งห่มเพื่อปกปิดร่างกาย และการนำมาทำเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อกันฝนกันแดด เป็นต้นวันนี้ BEDO จะมานำเสนอขนมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้จากธรรมชาติ ซึ่งมีขนมบางรายการที่ถือได้ว่าเป็นขนมหายาก และไม่เคยได้ยินชื่อมาก่อน เช่นขนมจาก • ทำมาจาก : ต้นจาก (Nypa fruticans Wurmb)• วงศ์ : ARECACEAE• ชื่อเรียกอื่น ๆ : จาก, อัตต๊ะ, อาปง (อินโดนีเซีย), ดาวนัก (เวียดนาม), นิพีรา (ฟิลิปปิ
ที่มาของข้อมูล