ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชเบียน เลื้อยพันต้นไม้อื่น มีรากพิเศษแทงเข้าไปในใบพืชที่อาศัยเพื่อแย่งอาหาร ลำต้นสีทองแกมเขียว อวบน้ำ คล้ายเส้นลวดหนา แข็งแรง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-2.5 มม. ไม่มีใบ ดอกเล็กค่อนข้างกลม ออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มไม่มีก้านดอก มีกลิ่นหอมมากตอนเช้า กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1-2 ซม. กลีบดอกสีขาว เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ งองุ้ม กว้าง 0.5-0.7 มม. ยาว 0.6-0.8 มม. ผลเป็นตุ่มคล้ายปม มักไม่ค่อยปรากฏให้เห็น
-
กาฝากเถาล้มลุก
-
พืชเบียน เลื้อยพันต้นไม้อื่น มีรากพิเศษแทงเข้าไปในใบพืชที่อาศัยเพื่อแย่งอาหาร ลำต้นสีทองแกมเขียว อวบน้ำ คล้ายเส้นลวดหนา แข็งแรง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-2.5 มม. ไม่มีใบ ดอกเล็กค่อนข้างกลม ออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มไม่มีก้านดอก มีกลิ่นหอมมากตอนเช้า กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1-2 ซม. กลีบดอกสีขาว เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ งองุ้ม กว้าง 0.5-0.7 มม. ยาว 0.6-0.8 มม. ผลเป็นตุ่มคล้ายปม มักไม่ค่อยปรากฏให้เห็น
-
พืชเบียน เลื้อยพันต้นไม้อื่น มีรากพิเศษแทงเข้าไปในใบพืชที่อาศัยเพื่อแย่งอาหาร ลำต้นสีทองแกมเขียว อวบน้ำ คล้ายเส้นลวดหนา แข็งแรง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-2.5 มม. ไม่มีใบ ดอกเล็กค่อนข้างกลม ออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มไม่มีก้านดอก มีกลิ่นหอมมากตอนเช้า กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1-2 ซม. กลีบดอกสีขาว เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ งองุ้ม กว้าง 0.5-0.7 มม. ยาว 0.6-0.8 มม. ผลเป็นตุ่มคล้ายปม มักไม่ค่อยปรากฏให้เห็น
-
พืชเบียน เลื้อยพันต้นไม้อื่น มีรากพิเศษแทงเข้าไปในใบพืชที่อาศัยเพื่อแย่งอาหาร ลำต้นสีทองแกมเขียว อวบน้ำ คล้ายเส้นลวดหนา แข็งแรง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-2.5 มม. ไม่มีใบ ดอกเล็กค่อนข้างกลม ออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มไม่มีก้านดอก มีกลิ่นหอมมากตอนเช้า กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1-2 ซม. กลีบดอกสีขาว เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ งองุ้ม กว้าง 0.5-0.7 มม. ยาว 0.6-0.8 มม. ผลเป็นตุ่มคล้ายปม มักไม่ค่อยปรากฏให้เห็น
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่อัฟกานิสถาน อินเดีย ศรีลังกา จีน มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยมักพบขึ้นตามป่าหินปูนและชายป่าโปร่ง ที่ความสูง 600-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล สามารถขึ้นตามพืชต้นสูงได้
-
พบตั้งแต่อัฟกานิสถาน อินเดีย ศรีลังกา จีน มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยมักพบขึ้นตามป่าหินปูนและชายป่าโปร่ง ที่ความสูง 600-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล สามารถขึ้นตามพืชต้นสูงได้
-
พบตั้งแต่อัฟกานิสถาน อินเดีย ศรีลังกา จีน มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยมักพบขึ้นตามป่าหินปูนและชายป่าโปร่ง ที่ความสูง 600-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล สามารถขึ้นตามพืชต้นสูงได้
-
พบตั้งแต่อัฟกานิสถาน อินเดีย ศรีลังกา จีน มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยมักพบขึ้นตามป่าหินปูนและชายป่าโปร่ง ที่ความสูง 600-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล สามารถขึ้นตามพืชต้นสูงได้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง