ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 13 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1-6 ซม. ยาว 2.5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามซอกใบสีเขียว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.8-1.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบโคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงกลม ปลายเว้าเป็นสองพูเล็กน้อย สีดำ ขนาดผ่าศูนย์กลาง4.5-6.5 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม มีร่องลึกด้านข้าง สีน้ำตาล ยาว 3-3.5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 13 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1-6 ซม. ยาว 2.5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามซอกใบสีเขียว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.8-1.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบโคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงกลม ปลายเว้าเป็นสองพูเล็กน้อย สีดำ ขนาดผ่าศูนย์กลาง4.5-6.5 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม มีร่องลึกด้านข้าง สีน้ำตาล ยาว 3-3.5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 13 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1-6 ซม. ยาว 2.5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามซอกใบสีเขียว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.8-1.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบโคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงกลม ปลายเว้าเป็นสองพูเล็กน้อย สีดำ ขนาดผ่าศูนย์กลาง4.5-6.5 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม มีร่องลึกด้านข้าง สีน้ำตาล ยาว 3-3.5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 13 เมตร หรือเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1-6 ซม. ยาว 2.5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมน หลังใบมีขนยาวห่างๆ ดอก ออกเป็นช่อกระจุก ตามซอกใบสีเขียว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.8-1.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบโคนเสอบแคบหรือเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ทรงกลม ปลายเว้าเป็นสองพูเล็กน้อย สีดำ ขนาดผ่าศูนย์กลาง4.5-6.5 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม มีร่องลึกด้านข้าง สีน้ำตาล ยาว 3-3.5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ ไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลียเหนือ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบชื้น จนถึงระดับความสูง 1,000 เมตร
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ ไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลียเหนือ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบชื้น จนถึงระดับความสูง 1,000 เมตร
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ ไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลียเหนือ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบชื้น จนถึงระดับความสูง 1,000 เมตร
- พบกระจายในอินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ ไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลียเหนือ ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบชื้น จนถึงระดับความสูง 1,000 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ระนอง
- พังงา
- นครศรีธรรมราช
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- สุราษฎร์ธานี
- พะเยา, น่าน
- พังงา
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พะเยา
- สุรินทร์
- ชุมพร
- สุรินทร์
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
- หนองคาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)