ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 6-18 เมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่ถึงค่อนข้างกลม กว้าง 3-17 ซม. ยาว 4-14 ซม. ปลายใบมน โคนใบตัด กลม หรือเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ เป็นเหลี่ยมหรือเป็นแฉกตื้นๆ เส้นโคนใบมี 5-7 เส้น เส้นกลางใบมีเส้นแขนงใบข้างละ 2-3 เส้น อาจจะมีต่อมรูปรีอยู่เหนือโคนใบประมาณ 1 ซม. ด้านบนใบมีขนประปราย หรือเกลี้ยง ด้านล่างมีขนนุ่มหนาแน่น ก้านใบยาว 1.5-6 ซม. หูใบรูปลิ่ม ยาวประมาณ 2 มม. ร่วงง่ายดอก ออกที่ยอด แบบช่อแยกแขนงยาวถึง 30 ซม. ดอกจำนวนมาก มีทั้งดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกสมบูรณ์เพศ แต่ละดอกมีริ้วประดับรองรับ โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 4-5 แฉก แฉกรูปไข่ ยาวประมาณ 4 มม. ปลายมน มีขนรูปดาวเล็ก ๆ คลุม เมื่อเป็นผลริ้วประดับจะขยายใหญ่ขึ้นมาก กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยม 5 แฉก แฉกยาวประมาณ 5 มม. ทั้งริ้วประดับและกลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผลกลีบดอกโคนเชื่อมติดกันประมาณ 1 มม. ปลายแยก 5 กลีบ รูปไข่กลับ หรือรูปช้อน กว้างประมาณ 4 มม. ยาวประมาณ 8.5 มม. เกสรเพศผู้ติดกันเป็นหลอดด ยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีอับเรณู 1-4 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปไข่ หรือแลม ภายในมี 3 ช่อง แต่ละช่องมีไข่อ่อน 2 หน่วย ก้านเกสรเพศเมียปลายแยก 3 แขนง ยอดเกสรรูปก้นปิด เป็นปุ่มเล็กๆผล ค่อนข้างกลม ปลายเป็นจงอย ริ้วประดับรูปไข่กลับถึงรูปไข่กลับแคบ กว้างประมาณ 8 มม. ยาวประมาณ 12 มม. ปลายกลมมน โคนสอบแคบ โคนสุดเชื่อมติดกัน มีเส้นตามยาว 3-4 เส้น และมีเส้นร่างแห เมล็ด รูปไต แต่ละช่องมี 1 เมล็ด
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ต้น สูง 6-18 เมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่ถึงค่อนข้างกลม กว้าง 3-17 ซม. ยาว 4-14 ซม. ปลายใบมน โคนใบตัด กลม หรือเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ เป็นเหลี่ยมหรือเป็นแฉกตื้นๆ เส้นโคนใบมี 5-7 เส้น เส้นกลางใบมีเส้นแขนงใบข้างละ 2-3 เส้น อาจจะมีต่อมรูปรีอยู่เหนือโคนใบประมาณ 1 ซม. ด้านบนใบมีขนประปราย หรือเกลี้ยง ด้านล่างมีขนนุ่มหนาแน่น ก้านใบยาว 1.5-6 ซม. หูใบรูปลิ่ม ยาวประมาณ 2 มม. ร่วงง่ายดอก ออกที่ยอด แบบช่อแยกแขนงยาวถึง 30 ซม. ดอกจำนวนมาก มีทั้งดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และดอกสมบูรณ์เพศ แต่ละดอกมีริ้วประดับรองรับ โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 4-5 แฉก แฉกรูปไข่ ยาวประมาณ 4 มม. ปลายมน มีขนรูปดาวเล็ก ๆ คลุม เมื่อเป็นผลริ้วประดับจะขยายใหญ่ขึ้นมาก กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยม 5 แฉก แฉกยาวประมาณ 5 มม. ทั้งริ้วประดับและกลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผลกลีบดอกโคนเชื่อมติดกันประมาณ 1 มม. ปลายแยก 5 กลีบ รูปไข่กลับ หรือรูปช้อน กว้างประมาณ 4 มม. ยาวประมาณ 8.5 มม. เกสรเพศผู้ติดกันเป็นหลอดด ยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีอับเรณู 1-4 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปไข่ หรือแลม ภายในมี 3 ช่อง แต่ละช่องมีไข่อ่อน 2 หน่วย ก้านเกสรเพศเมียปลายแยก 3 แขนง ยอดเกสรรูปก้นปิด เป็นปุ่มเล็กๆผล ค่อนข้างกลม ปลายเป็นจงอย ริ้วประดับรูปไข่กลับถึงรูปไข่กลับแคบ กว้างประมาณ 8 มม. ยาวประมาณ 12 มม. ปลายกลมมน โคนสอบแคบ โคนสุดเชื่อมติดกัน มีเส้นตามยาว 3-4 เส้น และมีเส้นร่างแห เมล็ด รูปไต แต่ละช่องมี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
ในประเทศอินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยตามป่าผลัดใบผสม - ป่าดิบแล้ง
-
ในประเทศอินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยตามป่าผลัดใบผสม - ป่าดิบแล้ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
นครราชสีมา
-
เชียงราย
-
ระยอง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ลำปาง, แพร่
-
น่าน
-
น่าน
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตาก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช