ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้กึ่งผลัดใบ สูง 6-17 ม. เปลือกต้นสีน้ำตาลออกเทาถึงสีน้ำตาลเข้ม ค่อนข้างเกลี้ยงถึงแตกเป็นร่องลึก ๆ ใบ 11-20 x 4.5-8 ซม. ขอบใบเรียบ ใบแก่เรียบเกลี้ยงหรือมีขนเป็นผลด้านล่าง เส้นใบข้างโค้ง 9-12 คู่ ก้านใบ 1.2-1.8 ซม. หูใบเล็ก ผล 2-3.5 ซม. เป็นช่อตั้งขึ้น กาบหุ้มผลไม่แตก ผิวมีหนามแหลม 3-13 มม. หนามชิดหรือห่าง ๆ กัน เมื่อแห้งสีดำปลายแหลมสีอ่อนกว่า มี 1-3 (4) นัท ขนาด 1.5-2.3 x 1.5-2 ซม. รูปเกือบกลมปลายเล้ก ผิวเกลี้ยง ยกเว้นใกล้ปลายผลมีขนประปราย มีแผลใหญ่ขนาด 3/4 ของนัท
- ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูง 7-15 ซม. ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-7 ซม. ยาว 9-15 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ตั้งขึ้น แตกแขนงมาก ยาวได้ถึง 12 ซม. แกนช่อดอกมีขน ดอกติดเป็นกลุ่ม มีขน กลีบรวม 6 กลีบ เกสรเพศผู้ 12 อัน ช่อดอกเพศเมียคล้ายเพศผู้ แต่มักเป็นช่อเดี่ยว ผล ค่อนข้างกลม กว้างและยาวได้ถึง 2.5 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม เมื่อแก่เป็นสีดำ ปลายหนามเป็นสีเหลือง
- ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูง 7-15 ซม. ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-7 ซม. ยาว 9-15 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ตั้งขึ้น แตกแขนงมาก ยาวได้ถึง 12 ซม. แกนช่อดอกมีขน ดอกติดเป็นกลุ่ม มีขน กลีบรวม 6 กลีบ เกสรเพศผู้ 12 อัน ช่อดอกเพศเมียคล้ายเพศผู้ แต่มักเป็นช่อเดี่ยว ผล ค่อนข้างกลม กว้างและยาวได้ถึง 2.5 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม เมื่อแก่เป็นสีดำ ปลายหนามเป็นสีเหลือง
- ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูง 7-15 ซม. ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-7 ซม. ยาว 9-15 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ตั้งขึ้น แตกแขนงมาก ยาวได้ถึง 12 ซม. แกนช่อดอกมีขน ดอกติดเป็นกลุ่ม มีขน กลีบรวม 6 กลีบ เกสรเพศผู้ 12 อัน ช่อดอกเพศเมียคล้ายเพศผู้ แต่มักเป็นช่อเดี่ยว ผล ค่อนข้างกลม กว้างและยาวได้ถึง 2.5 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม เมื่อแก่เป็นสีดำ ปลายหนามเป็นสีเหลือง
- ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูง 7-15 ซม. ใบ เดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-7 ซม. ยาว 9-15 ซม. ดอก แยกเพศขนาดเล็ก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ตั้งขึ้น แตกแขนงมาก ยาวได้ถึง 12 ซม. แกนช่อดอกมีขน ดอกติดเป็นกลุ่ม มีขน กลีบรวม 6 กลีบ เกสรเพศผู้ 12 อัน ช่อดอกเพศเมียคล้ายเพศผู้ แต่มักเป็นช่อเดี่ยว ผล ค่อนข้างกลม กว้างและยาวได้ถึง 2.5 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม เมื่อแก่เป็นสีดำ ปลายหนามเป็นสีเหลือง
ระบบนิเวศ :
- พบได้ทั่วไปในป่าที่แห้งแล้ง
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 800-1,000 เมตร ติดผลเดือน พ.ย.
- พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 800-1,000 เมตร ติดผลเดือน พ.ย.
- พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 800-1,000 เมตร ติดผลเดือน พ.ย.
- พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 800-1,000 เมตร ติดผลเดือน พ.ย.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- นครศรีธรรมราช
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตาก
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)