ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลำต้นค่อนข้างตรง ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่กลับหรือแกมขอบขนาน ปลายใบมนหรือเป็นติ่งทู่ๆ โคนใบสอบ เนื้อใบหนา หลังใบมีขนสาก ท้องใบมีขนสีเทานุ่มหรือสากๆ เส้นแขนงใบขนานกันมี 25-35 คู่ ปลายเส้นแขนงจะยื่นพ้นขอบใบทำให้ขอบใบเป็นหยักคล้ายหนามก้านใบยาวประมาณ 3-6 ซม. ดอก สีเหลือง ออกเป็นกระจุก กระจุกละ 2-7 ออกตามกิ่ง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง ประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง แล้วสอบเรียวหาทางโคนใบ เกสรผู้มีมาก เป็น 2 วง หลอดท่อเกสรเมียโค้งก้านดอกยาว 3-5 ซม. โคนก้านมีการหุ้ม ผล อุ้มน้ำ โต ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.8 ซม. ผลแก่สีส้ม
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลำต้นค่อนข้างตรง ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่กลับหรือแกมขอบขนาน ปลายใบมนหรือเป็นติ่งทู่ๆ โคนใบสอบ เนื้อใบหนา หลังใบมีขนสาก ท้องใบมีขนสีเทานุ่มหรือสากๆ เส้นแขนงใบขนานกันมี 25-35 คู่ ปลายเส้นแขนงจะยื่นพ้นขอบใบทำให้ขอบใบเป็นหยักคล้ายหนามก้านใบยาวประมาณ 3-6 ซม. ดอก สีเหลือง ออกเป็นกระจุก กระจุกละ 2-7 ออกตามกิ่ง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง ประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง แล้วสอบเรียวหาทางโคนใบ เกสรผู้มีมาก เป็น 2 วง หลอดท่อเกสรเมียโค้งก้านดอกยาว 3-5 ซม. โคนก้านมีการหุ้ม ผล อุ้มน้ำ โต ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.8 ซม. ผลแก่สีส้ม
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลำต้นค่อนข้างตรง ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่กลับหรือแกมขอบขนาน ปลายใบมนหรือเป็นติ่งทู่ๆ โคนใบสอบ เนื้อใบหนา หลังใบมีขนสาก ท้องใบมีขนสีเทานุ่มหรือสากๆ เส้นแขนงใบขนานกันมี 25-35 คู่ ปลายเส้นแขนงจะยื่นพ้นขอบใบทำให้ขอบใบเป็นหยักคล้ายหนามก้านใบยาวประมาณ 3-6 ซม. ดอก สีเหลือง ออกเป็นกระจุก กระจุกละ 2-7 ออกตามกิ่ง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง ประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง แล้วสอบเรียวหาทางโคนใบ เกสรผู้มีมาก เป็น 2 วง หลอดท่อเกสรเมียโค้งก้านดอกยาว 3-5 ซม. โคนก้านมีการหุ้ม ผล อุ้มน้ำ โต ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.8 ซม. ผลแก่สีส้ม
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลำต้นค่อนข้างตรง ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่กลับหรือแกมขอบขนาน ปลายใบมนหรือเป็นติ่งทู่ๆ โคนใบสอบ เนื้อใบหนา หลังใบมีขนสาก ท้องใบมีขนสีเทานุ่มหรือสากๆ เส้นแขนงใบขนานกันมี 25-35 คู่ ปลายเส้นแขนงจะยื่นพ้นขอบใบทำให้ขอบใบเป็นหยักคล้ายหนามก้านใบยาวประมาณ 3-6 ซม. ดอก สีเหลือง ออกเป็นกระจุก กระจุกละ 2-7 ออกตามกิ่ง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง ประมาณ 5 กลีบ บอบบางและหลุดง่าย ปลายกลีบมนกว้าง แล้วสอบเรียวหาทางโคนใบ เกสรผู้มีมาก เป็น 2 วง หลอดท่อเกสรเมียโค้งก้านดอกยาว 3-5 ซม. โคนก้านมีการหุ้ม ผล อุ้มน้ำ โต ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.8 ซม. ผลแก่สีส้ม
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นตามป่าผลัดใบผสม และตามเขาหินปูน ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงใต้ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-500 เมตร
-
พบขึ้นตามป่าผลัดใบผสม และตามเขาหินปูน ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงใต้ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-500 เมตร
-
พบขึ้นตามป่าผลัดใบผสม และตามเขาหินปูน ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงใต้ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-500 เมตร
-
พบขึ้นตามป่าผลัดใบผสม และตามเขาหินปูน ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงใต้ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-500 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ตาก
-
ตาก
-
เลย
-
ตาก
-
น่าน
-
น่าน
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อไม้ใช้ทำกระดาน พื้น ฝา เครื่องบนและเครื่องตกแต่บ้าน ผลเป็นอาหารสัตว์ป่า
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |