ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 7-15 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 7.5-45 ซม. ใบย่อย 4-8 ใบ เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม รูปขอบขนาน หรือรูปขอบขนานแกมรูปรี ยาว 5-17 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ หรือช่อแยกแขนง มีขนสั้นนุ่ม ดอกขนาดเล็ก วงกลีบเลี้ยงรูปถ้วยมี 4-5 แฉก ไม่มีกลีบดอก ผลกลม มีปุ่มปม เมล็ดกลม มีเยื่อหุ้มเมล็ดฉ่ำน้ำห่อหุ้ม ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
- ไม้ต้น สูง 7-15 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 7.5-45 ซม. ใบย่อย 4-8 ใบ เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม รูปขอบขนาน หรือรูปขอบขนานแกมรูปรี ยาว 5-17 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ หรือช่อแยกแขนง มีขนสั้นนุ่ม ดอกขนาดเล็ก วงกลีบเลี้ยงรูปถ้วยมี 4-5 แฉก ไม่มีกลีบดอก ผลกลม มีปุ่มปม เมล็ดกลม มีเยื่อหุ้มเมล็ดฉ่ำน้ำห่อหุ้ม ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
- ไม้ต้น สูง 7-15 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 7.5-45 ซม. ใบย่อย 4-8 ใบ เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม รูปขอบขนาน หรือรูปขอบขนานแกมรูปรี ยาว 5-17 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ หรือช่อแยกแขนง มีขนสั้นนุ่ม ดอกขนาดเล็ก วงกลีบเลี้ยงรูปถ้วยมี 4-5 แฉก ไม่มีกลีบดอก ผลกลม มีปุ่มปม เมล็ดกลม มีเยื่อหุ้มเมล็ดฉ่ำน้ำห่อหุ้ม ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
- ไม้ต้น สูง 7-15 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 7.5-45 ซม. ใบย่อย 4-8 ใบ เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม รูปขอบขนาน หรือรูปขอบขนานแกมรูปรี ยาว 5-17 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ หรือช่อแยกแขนง มีขนสั้นนุ่ม ดอกขนาดเล็ก วงกลีบเลี้ยงรูปถ้วยมี 4-5 แฉก ไม่มีกลีบดอก ผลกลม มีปุ่มปม เมล็ดกลม มีเยื่อหุ้มเมล็ดฉ่ำน้ำห่อหุ้ม ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ยืนต้นสูง ๓๐ ม. ลำต้นสีน้ำตาลอมเทา ใบ ประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบย่อย ๔–๕ คู่ เรียงตรงข้าม รูปขอบใบขนานกว้าง ๑.๕–๖.๕ ซม. ปลายใบมน ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ดอก ช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีนวล มีขนประปราย ผล รูปทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑–๒ เมล็ดรูปทรงกลม สีดำ ผิวมัน มีเมล็ดเดียว เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ในประเทศไทยพบทุกภาค ต่างประเทศพบที่ ศรีลังกา อินเดีย จีน มาเลเซีย
การขยายพันธุ์ :
- นิยมมากในปัจจุบันคือ การตอนกิ่ง ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและได้ผลแน่นอนเนื่องจากลำไยเป็นพืชที่ออกรากได้ง่าย แต่มีข้อเสียคือต้นไม่มีรากแก้วจึงทำให้มีโอกาสโค่นล้มเนื่องจากลมพายุสูงมาก ปัจจุบันชาวสวนบางรายเริ่มให้ความสนใจ ในการขยายพันธุ์ลำไยโดยวิธีการอื่น ๆ เช่น การเสียบกิ่ง, การทาบกิ่ง และการเสริมราก โดยใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ด ซึ่งจะมีระบบรากแก้วที่สามารถหยั่งลึกลงไปในดินป้องกันต้นลำไยโค่นล้ม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ระนอง
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- กำแพงเพชร
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ประจวบคีรีขันธ์
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- กำแพงเพชร
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- ชัยภูมิ
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- กาฬสินธุ์
- เลย, เพชรบูรณ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ,ผลรับประทานได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :