ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 12 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลแดง แตกเป็นร่องลึกตามความยาวของลำต้น กิ่งก้านอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาล ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีถึงรูปใบหอก กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 8-18 ซม. ปลายใบมนถึงเรียวแหลม โคนสอบถึงกลม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวด้านบนมีขนตามเส้นกลางใบ ผิวด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแดงสั้นหนานุ่มทั่วไป มีหนาแน่นตามเส้นใบ เส้นแขนงใบ ข้างละ 6-10 เส้น ปลายจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. ปลายก้านใบมีข้อ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบ ยาวประมาณ 3 ซม.ก้านช่อดอกสั้น มีขนหนาแน่น ดอกส่วนมากสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียวอ่อน รูปไข่ปลายทู่หรือแหลม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในเกลี้ยง กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรือสีครีม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในมีขนสั้นหนานุ่ม เกสรเพศผู้มี 10 อัน เป็นหมัน 5 อัน เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปไข่เบี้ยว มีขนหนาแน่น ยอดเกสรเพศเมีย ปลายแยกเป็น 2 แฉก ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ผลแห้งแตกแนวเดียว ยาว 2-4 ซม. ผิวผลมีขนละเอียด สีน้ำตาลแดงหนาแน่น มีก้านผลสั้น ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีน้ำตาล รูปไข่ มีเมล็ด 1 เมล็ด สีดำเป็นมัน รูปไข่หรือรี ยาว 1-2 ซม. มีเยื่อหุ้มเมล็ด สีส้มแดง คล้ายกับตาของนกกรด พบตามป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ชายป่าดิบ ป่าพรุ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 800 เมตร ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลระหว่างเดือนมีนาคม- มิถุนายน
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 12 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลแดง แตกเป็นร่องลึกตามความยาวของลำต้น กิ่งก้านอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาล ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีถึงรูปใบหอก กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 8-18 ซม. ปลายใบมนถึงเรียวแหลม โคนสอบถึงกลม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวด้านบนมีขนตามเส้นกลางใบ ผิวด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแดงสั้นหนานุ่มทั่วไป มีหนาแน่นตามเส้นใบ เส้นแขนงใบ ข้างละ 6-10 เส้น ปลายจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. ปลายก้านใบมีข้อ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบ ยาวประมาณ 3 ซม.ก้านช่อดอกสั้น มีขนหนาแน่น ดอกส่วนมากสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียวอ่อน รูปไข่ปลายทู่หรือแหลม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในเกลี้ยง กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรือสีครีม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในมีขนสั้นหนานุ่ม เกสรเพศผู้มี 10 อัน เป็นหมัน 5 อัน เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปไข่เบี้ยว มีขนหนาแน่น ยอดเกสรเพศเมีย ปลายแยกเป็น 2 แฉก ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ผลแห้งแตกแนวเดียว ยาว 2-4 ซม. ผิวผลมีขนละเอียด สีน้ำตาลแดงหนาแน่น มีก้านผลสั้น ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีน้ำตาล รูปไข่ มีเมล็ด 1 เมล็ด สีดำเป็นมัน รูปไข่หรือรี ยาว 1-2 ซม. มีเยื่อหุ้มเมล็ด สีส้มแดง คล้ายกับตาของนกกรด พบตามป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ชายป่าดิบ ป่าพรุ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 800 เมตร ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลระหว่างเดือนมีนาคม- มิถุนายน
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 12 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลแดง แตกเป็นร่องลึกตามความยาวของลำต้น กิ่งก้านอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาล ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีถึงรูปใบหอก กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 8-18 ซม. ปลายใบมนถึงเรียวแหลม โคนสอบถึงกลม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวด้านบนมีขนตามเส้นกลางใบ ผิวด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแดงสั้นหนานุ่มทั่วไป มีหนาแน่นตามเส้นใบ เส้นแขนงใบ ข้างละ 6-10 เส้น ปลายจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. ปลายก้านใบมีข้อ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบ ยาวประมาณ 3 ซม.ก้านช่อดอกสั้น มีขนหนาแน่น ดอกส่วนมากสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียวอ่อน รูปไข่ปลายทู่หรือแหลม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในเกลี้ยง กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรือสีครีม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในมีขนสั้นหนานุ่ม เกสรเพศผู้มี 10 อัน เป็นหมัน 5 อัน เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปไข่เบี้ยว มีขนหนาแน่น ยอดเกสรเพศเมีย ปลายแยกเป็น 2 แฉก ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ผลแห้งแตกแนวเดียว ยาว 2-4 ซม. ผิวผลมีขนละเอียด สีน้ำตาลแดงหนาแน่น มีก้านผลสั้น ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีน้ำตาล รูปไข่ มีเมล็ด 1 เมล็ด สีดำเป็นมัน รูปไข่หรือรี ยาว 1-2 ซม. มีเยื่อหุ้มเมล็ด สีส้มแดง คล้ายกับตาของนกกรด พบตามป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ชายป่าดิบ ป่าพรุ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 800 เมตร ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลระหว่างเดือนมีนาคม- มิถุนายน
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 12 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลแดง แตกเป็นร่องลึกตามความยาวของลำต้น กิ่งก้านอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาล ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีถึงรูปใบหอก กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 8-18 ซม. ปลายใบมนถึงเรียวแหลม โคนสอบถึงกลม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวด้านบนมีขนตามเส้นกลางใบ ผิวด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแดงสั้นหนานุ่มทั่วไป มีหนาแน่นตามเส้นใบ เส้นแขนงใบ ข้างละ 6-10 เส้น ปลายจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. ปลายก้านใบมีข้อ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบ ยาวประมาณ 3 ซม.ก้านช่อดอกสั้น มีขนหนาแน่น ดอกส่วนมากสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียวอ่อน รูปไข่ปลายทู่หรือแหลม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในเกลี้ยง กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรือสีครีม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในมีขนสั้นหนานุ่ม เกสรเพศผู้มี 10 อัน เป็นหมัน 5 อัน เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปไข่เบี้ยว มีขนหนาแน่น ยอดเกสรเพศเมีย ปลายแยกเป็น 2 แฉก ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ผลแห้งแตกแนวเดียว ยาว 2-4 ซม. ผิวผลมีขนละเอียด สีน้ำตาลแดงหนาแน่น มีก้านผลสั้น ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีน้ำตาล รูปไข่ มีเมล็ด 1 เมล็ด สีดำเป็นมัน รูปไข่หรือรี ยาว 1-2 ซม. มีเยื่อหุ้มเมล็ด สีส้มแดง คล้ายกับตาของนกกรด พบตามป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ชายป่าดิบ ป่าพรุ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 800 เมตร ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลระหว่างเดือนมีนาคม- มิถุนายน
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 12 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลแดง แตกเป็นร่องลึกตามความยาวของลำต้น กิ่งก้านอ่อนมีขนละเอียดสีน้ำตาล ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีถึงรูปใบหอก กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 8-18 ซม. ปลายใบมนถึงเรียวแหลม โคนสอบถึงกลม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวด้านบนมีขนตามเส้นกลางใบ ผิวด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแดงสั้นหนานุ่มทั่วไป มีหนาแน่นตามเส้นใบ เส้นแขนงใบ ข้างละ 6-10 เส้น ปลายจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. ปลายก้านใบมีข้อ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบ ยาวประมาณ 3 ซม.ก้านช่อดอกสั้น มีขนหนาแน่น ดอกส่วนมากสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียวอ่อน รูปไข่ปลายทู่หรือแหลม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในเกลี้ยง กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรือสีครีม แยกกัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ด้านนอกมีขนยาวห่าง ด้านในมีขนสั้นหนานุ่ม เกสรเพศผู้มี 10 อัน เป็นหมัน 5 อัน เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปไข่เบี้ยว มีขนหนาแน่น ยอดเกสรเพศเมีย ปลายแยกเป็น 2 แฉก ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ผลแห้งแตกแนวเดียว ยาว 2-4 ซม. ผิวผลมีขนละเอียด สีน้ำตาลแดงหนาแน่น มีก้านผลสั้น ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีน้ำตาล รูปไข่ มีเมล็ด 1 เมล็ด สีดำเป็นมัน รูปไข่หรือรี ยาว 1-2 ซม. มีเยื่อหุ้มเมล็ด สีส้มแดง คล้ายกับตาของนกกรด พบตามป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ชายป่าดิบ ป่าพรุ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 800 เมตร ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลระหว่างเดือนมีนาคม- มิถุนายน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่ง ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก แผ่นกลีบดอกทั้งสองด้าน และผล ใบประกอบมีใบย่อยใบเดียว เรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 6-15 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนมนหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจำนวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ติดทน ดอกสีขาวหรือครีม กลีบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาวประมาณสองเท่าของกลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ ด้านในมีขนยาว อันที่สมบูรณ์ 5 อัน ติดเหนือกลีบเลี้ยง เป็นหมัน 5 อัน ติดเหนือกลีบดอก รังไข่มีช่องเดียว มีขนยาว ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 2-3 ซม. ก้านผลยาว 0.5-2 ซม. มีเมล็ดเดียว โคนมีเยื่อหุ้มสีส้มหรือแดง
-
หำฟาน ตานกกดน้อย (เชียงใหม่)กะโรงแดง หมาตายทากลาก(ภาคตะวันออก) จันนกกด(นครราชสีมา) ช้างน้าว (ราชบุรี นครราชสีมา) อุ่นขี้ไก่ (ลำปาง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นสูงถึง 30 ม. ใบเดียว รูปรี หรือ รูปใบหอก กว้าง 3-6 ยาว 6-15 ซม. ก้านใบ ยาว0.5-1 ซม. ฐานใบมน หรือ รูปลิ่ม ปลายใบมน หรือ เรียวแหลม ท้องใบมีขนโดยเฉพาะที่เส้นใบ ดอกออกเป็นช่อเป็นกลุ่มแน่น และแบบกระจะ ดอกมักสมบูรณ์เพศ ดอกย่อยจำนวนไม่มาก มีขนปกคลุมเล็กน้อย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวน 5 กลีบดอกสีขาว หรือสีครีม ด้านนอกมีขนประปราย ด้านในมีขนมาก เกสรเพศผู้เกลี้ยงยกเว้นตรงฐาน ผล แบบแห้งแตก มีขนสีน้ำตาล
-
หำฟาน ตานกกดน้อย (เชียงใหม่)กะโรงแดง หมาตายทากลาก(ภาคตะวันออก) จันนกกด(นครราชสีมา) ช้างน้าว (ราชบุรี นครราชสีมา) อุ่นขี้ไก่ (ลำปาง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นสูงถึง 30 ม. ใบเดียว รูปรี หรือ รูปใบหอก กว้าง 3-6 ยาว 6-15 ซม. ก้านใบ ยาว0.5-1 ซม. ฐานใบมน หรือ รูปลิ่ม ปลายใบมน หรือ เรียวแหลม ท้องใบมีขนโดยเฉพาะที่เส้นใบ ดอกออกเป็นช่อเป็นกลุ่มแน่น และแบบกระจะ ดอกมักสมบูรณ์เพศ ดอกย่อยจำนวนไม่มาก มีขนปกคลุมเล็กน้อย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวน 5 กลีบดอกสีขาว หรือสีครีม ด้านนอกมีขนประปราย ด้านในมีขนมาก เกสรเพศผู้เกลี้ยงยกเว้นตรงฐาน ผล แบบแห้งแตก มีขนสีน้ำตาล
-
หำฟาน ตานกกดน้อย (เชียงใหม่)กะโรงแดง หมาตายทากลาก(ภาคตะวันออก) จันนกกด(นครราชสีมา) ช้างน้าว (ราชบุรี นครราชสีมา) อุ่นขี้ไก่ (ลำปาง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นสูงถึง 30 ม. ใบเดียว รูปรี หรือ รูปใบหอก กว้าง 3-6 ยาว 6-15 ซม. ก้านใบ ยาว0.5-1 ซม. ฐานใบมน หรือ รูปลิ่ม ปลายใบมน หรือ เรียวแหลม ท้องใบมีขนโดยเฉพาะที่เส้นใบ ดอกออกเป็นช่อเป็นกลุ่มแน่น และแบบกระจะ ดอกมักสมบูรณ์เพศ ดอกย่อยจำนวนไม่มาก มีขนปกคลุมเล็กน้อย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวน 5 กลีบดอกสีขาว หรือสีครีม ด้านนอกมีขนประปราย ด้านในมีขนมาก เกสรเพศผู้เกลี้ยงยกเว้นตรงฐาน ผล แบบแห้งแตก มีขนสีน้ำตาล
-
หำฟาน ตานกกดน้อย (เชียงใหม่)กะโรงแดง หมาตายทากลาก(ภาคตะวันออก) จันนกกด(นครราชสีมา) ช้างน้าว (ราชบุรี นครราชสีมา) อุ่นขี้ไก่ (ลำปาง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นสูงถึง 30 ม. ใบเดียว รูปรี หรือ รูปใบหอก กว้าง 3-6 ยาว 6-15 ซม. ก้านใบ ยาว0.5-1 ซม. ฐานใบมน หรือ รูปลิ่ม ปลายใบมน หรือ เรียวแหลม ท้องใบมีขนโดยเฉพาะที่เส้นใบ ดอกออกเป็นช่อเป็นกลุ่มแน่น และแบบกระจะ ดอกมักสมบูรณ์เพศ ดอกย่อยจำนวนไม่มาก มีขนปกคลุมเล็กน้อย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวน 5 กลีบดอกสีขาว หรือสีครีม ด้านนอกมีขนประปราย ด้านในมีขนมาก เกสรเพศผู้เกลี้ยงยกเว้นตรงฐาน ผล แบบแห้งแตก มีขนสีน้ำตาล
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในพม่า อินโดจีน และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ประโยชน์ กิ่งก้านและต้น ต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้องเกร็ง แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยเจริญอาหาร ผสมต้นพลับพลา กำแพงเจ็ดชั้น ต้นสบู่ขาว ต้นพลองเหมือด และแก่นจำปา ต้มน้ำดื่มแก้หืด เปลือกต้น และแก่น ต้มน้ำดื่มแก้ไตพิการ (โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะขุ่นข้น เหลืองหรือแดง มักมีอาการแน่นท้อง กินอาหารไม่ได้)
-
พบในพม่า อินโดจีน และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ประโยชน์ กิ่งก้านและต้น ต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้องเกร็ง แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยเจริญอาหาร ผสมต้นพลับพลา กำแพงเจ็ดชั้น ต้นสบู่ขาว ต้นพลองเหมือด และแก่นจำปา ต้มน้ำดื่มแก้หืด เปลือกต้น และแก่น ต้มน้ำดื่มแก้ไตพิการ (โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะขุ่นข้น เหลืองหรือแดง มักมีอาการแน่นท้อง กินอาหารไม่ได้)
-
พบในพม่า อินโดจีน และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ประโยชน์ กิ่งก้านและต้น ต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้องเกร็ง แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยเจริญอาหาร ผสมต้นพลับพลา กำแพงเจ็ดชั้น ต้นสบู่ขาว ต้นพลองเหมือด และแก่นจำปา ต้มน้ำดื่มแก้หืด เปลือกต้น และแก่น ต้มน้ำดื่มแก้ไตพิการ (โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะขุ่นข้น เหลืองหรือแดง มักมีอาการแน่นท้อง กินอาหารไม่ได้)
-
พบในพม่า อินโดจีน และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ประโยชน์ กิ่งก้านและต้น ต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้องเกร็ง แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยเจริญอาหาร ผสมต้นพลับพลา กำแพงเจ็ดชั้น ต้นสบู่ขาว ต้นพลองเหมือด และแก่นจำปา ต้มน้ำดื่มแก้หืด เปลือกต้น และแก่น ต้มน้ำดื่มแก้ไตพิการ (โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะขุ่นข้น เหลืองหรือแดง มักมีอาการแน่นท้อง กินอาหารไม่ได้)
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
มุกดาหาร
-
ราชบุรี
-
พิษณุโลก
-
สงขลา
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
นครราชสีมา
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
เพชรบูรณ์
-
กำแพงเพชร
-
ลำปาง
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
เชียงใหม่
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
กาฬสินธุ์
-
ราชบุรี
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
เชียงใหม่
-
ยะลา, นราธิวาส
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ไม้ดอกไม้ประดับ,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |