ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- Palm tree.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปพัด ขนาดใหญ่ เป็นกระจุกบริเวณยอด ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ สีขาวอมเขียว ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเขียวอมฟ้า ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ติดผลช่วงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปพัด ขนาดใหญ่ เป็นกระจุกบริเวณยอด ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ สีขาวอมเขียว ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเขียวอมฟ้า ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ติดผลช่วงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน
- ออกดอกเดือนพฤษภาคม- สิงหาคม
ระบบนิเวศ :
- Locally very common in hill evergreen forest.
การกระจายพันธุ์ :
- China, Bhutan, Myanmar, Peninsular
Malaysia.
- พบในป่าดิบแล้ง
- พบในป่าดิบแล้ง
- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบในป่าดิบขึ้น ความสูงระดับน้ำทะเล 300 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- MaeHongSon,ChiangMai,ChiangRai,Lamphun,Loei,Phetchaburi,PrachuapKhiriKhan,Trang,Songkhla,Pattani,Yala
- เลย
- เลย
- ชุมพร
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สตูล, สงขลา
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ชุมพร
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เป็นปาล์มต้นเดี่ยวขนาดใหญ่ ลำต้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ช่วงที่มีอายุน้อยจะปกคลุมด้วยกาบใบและก้านใบ ใบ ใบประกอบรูปใบพัดจักเว้าลึก ใบยาว 140-160 เซนติเมตร เส้นใบด้านหลังมีขนปกคลุมก้านใบย่อยติดกันเป็นแผ่น ค่อนข้างกลมปลายใบแยกกันเป็นอิสระ ปลายใบย่อยผ่าจักตื้นเป็นสองแฉกไม่ลู่ลง มีใบย่อย 90-100 ใบ หลังใบสีเขียว ท้องใบสีเทาเงิน ก้านใบยาวประมาณ 2 เมตร ขอบกาบใบมีหนามสีเหลืองยาวตลอดก้านใบ โคนมีรกเส้นใยสีน้ำตาลปกคลุมลำต้น ดอก เป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อดอกจะออกบริเวณซอกกาบใบ ช่อดอกยาว 1-2 เมตร มีก้านช่อย่อยจำนวนมาก กาบหุ้มช่อดอกสีน้ำตาลแดง ผล รูปกลม ขนาด 3 x 2.5 เซนติเมตร ช่อผลยาว 2.30 เมตร มีช่อย่อยออกตามข้อ ออกเป็นระยะ แต่ละกระจุของช่อย่อยจะมีกาบสีน้ำตาลหุ้ม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกจะมีสีส้มแกมน้ำเงินเข้ม
- เป็นปาล์มต้นเดี่ยวขนาดใหญ่ ลำต้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ช่วงที่มีอายุน้อยจะปกคลุมด้วยกาบใบและก้านใบ ใบ ใบประกอบรูปใบพัดจักเว้าลึก ใบยาว 140-160 เซนติเมตร เส้นใบด้านหลังมีขนปกคลุมก้านใบย่อยติดกันเป็นแผ่น ค่อนข้างกลมปลายใบแยกกันเป็นอิสระ ปลายใบย่อยผ่าจักตื้นเป็นสองแฉกไม่ลู่ลง มีใบย่อย 90-100 ใบ หลังใบสีเขียว ท้องใบสีเทาเงิน ก้านใบยาวประมาณ 2 เมตร ขอบกาบใบมีหนามสีเหลืองยาวตลอดก้านใบ โคนมีรกเส้นใยสีน้ำตาลปกคลุมลำต้น ดอก เป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อดอกจะออกบริเวณซอกกาบใบ ช่อดอกยาว 1-2 เมตร มีก้านช่อย่อยจำนวนมาก กาบหุ้มช่อดอกสีน้ำตาลแดง ผล รูปกลม ขนาด 3 x 2.5 เซนติเมตร ช่อผลยาว 2.30 เมตร มีช่อย่อยออกตามข้อ ออกเป็นระยะ แต่ละกระจุของช่อย่อยจะมีกาบสีน้ำตาลหุ้ม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกจะมีสีส้มแกมน้ำเงินเข้ม
- เป็นปาล์มต้นเดี่ยวขนาดใหญ่ ลำต้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ช่วงที่มีอายุน้อยจะปกคลุมด้วยกาบใบและก้านใบ ใบ ใบประกอบรูปใบพัดจักเว้าลึก ใบยาว 140-160 เซนติเมตร เส้นใบด้านหลังมีขนปกคลุมก้านใบย่อยติดกันเป็นแผ่น ค่อนข้างกลมปลายใบแยกกันเป็นอิสระ ปลายใบย่อยผ่าจักตื้นเป็นสองแฉกไม่ลู่ลง มีใบย่อย 90-100 ใบ หลังใบสีเขียว ท้องใบสีเทาเงิน ก้านใบยาวประมาณ 2 เมตร ขอบกาบใบมีหนามสีเหลืองยาวตลอดก้านใบ โคนมีรกเส้นใยสีน้ำตาลปกคลุมลำต้น ดอก เป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อดอกจะออกบริเวณซอกกาบใบ ช่อดอกยาว 1-2 เมตร มีก้านช่อย่อยจำนวนมาก กาบหุ้มช่อดอกสีน้ำตาลแดง ผล รูปกลม ขนาด 3 x 2.5 เซนติเมตร ช่อผลยาว 2.30 เมตร มีช่อย่อยออกตามข้อ ออกเป็นระยะ แต่ละกระจุของช่อย่อยจะมีกาบสีน้ำตาลหุ้ม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกจะมีสีส้มแกมน้ำเงินเข้ม
- เป็นปาล์มต้นเดี่ยวขนาดใหญ่ ลำต้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ช่วงที่มีอายุน้อยจะปกคลุมด้วยกาบใบและก้านใบ ใบ ใบประกอบรูปใบพัดจักเว้าลึก ใบยาว 140-160 เซนติเมตร เส้นใบด้านหลังมีขนปกคลุมก้านใบย่อยติดกันเป็นแผ่น ค่อนข้างกลมปลายใบแยกกันเป็นอิสระ ปลายใบย่อยผ่าจักตื้นเป็นสองแฉกไม่ลู่ลง มีใบย่อย 90-100 ใบ หลังใบสีเขียว ท้องใบสีเทาเงิน ก้านใบยาวประมาณ 2 เมตร ขอบกาบใบมีหนามสีเหลืองยาวตลอดก้านใบ โคนมีรกเส้นใยสีน้ำตาลปกคลุมลำต้น ดอก เป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อดอกจะออกบริเวณซอกกาบใบ ช่อดอกยาว 1-2 เมตร มีก้านช่อย่อยจำนวนมาก กาบหุ้มช่อดอกสีน้ำตาลแดง ผล รูปกลม ขนาด 3 x 2.5 เซนติเมตร ช่อผลยาว 2.30 เมตร มีช่อย่อยออกตามข้อ ออกเป็นระยะ แต่ละกระจุของช่อย่อยจะมีกาบสีน้ำตาลหุ้ม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกจะมีสีส้มแกมน้ำเงินเข้ม
- เป็นปาล์มต้นเดี่ยวขนาดใหญ่ ลำต้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 เซนติเมตร ช่วงที่มีอายุน้อยจะปกคลุมด้วยกาบใบและก้านใบ ใบ ใบประกอบรูปใบพัดจักเว้าลึก ใบยาว 140-160 เซนติเมตร เส้นใบด้านหลังมีขนปกคลุมก้านใบย่อยติดกันเป็นแผ่น ค่อนข้างกลมปลายใบแยกกันเป็นอิสระ ปลายใบย่อยผ่าจักตื้นเป็นสองแฉกไม่ลู่ลง มีใบย่อย 90-100 ใบ หลังใบสีเขียว ท้องใบสีเทาเงิน ก้านใบยาวประมาณ 2 เมตร ขอบกาบใบมีหนามสีเหลืองยาวตลอดก้านใบ โคนมีรกเส้นใยสีน้ำตาลปกคลุมลำต้น ดอก เป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อดอกจะออกบริเวณซอกกาบใบ ช่อดอกยาว 1-2 เมตร มีก้านช่อย่อยจำนวนมาก กาบหุ้มช่อดอกสีน้ำตาลแดง ผล รูปกลม ขนาด 3 x 2.5 เซนติเมตร ช่อผลยาว 2.30 เมตร มีช่อย่อยออกตามข้อ ออกเป็นระยะ แต่ละกระจุของช่อย่อยจะมีกาบสีน้ำตาลหุ้ม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกจะมีสีส้มแกมน้ำเงินเข้ม
- ปาล์มลำต้นเดี่ยว สูง 20- 25 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นประมาณ 30 เชนติเมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนแน่นใกล้ปลายยอด รูปพัด ปลายใบจักตื้นเป็นสองแฉก แผ่นใบ ด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีเทา เส้นใบด้านล่างมีขนปกคลุม ก้านใบยาวประมาณ 2 เมตร ขอบกาบใบมีหนามสีเหลืองยาวตลอดก้านใบ โคนมีรกเส้นใยสีน้ำตาล ปกคลุม ดอก แบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกกาบใบ กาบหุ้มช่อดอกสีน้ำตาลแดง ช่อดอกยาว 1-2 เมตร กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอก 3 กลีบ รังไข่เหนือวงกลีบ ผล แบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเทาแกมเขียวเข้ม
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
- ใบอ่อนนำมาทาไม้กวาด ใบแก่นำมามุงหลังคา หน่อนำมาประกอบอาหาร ผลนำมารับประทานได้
- นำใบไปสาน แล้วนำมาใช้มุงหลังคาบ้าน
ข้อมูลภูมิปัญญา
- พืช ที่เรียกว่า “ค้อ” :: ค้อ มีชื่อเรียกที่หลากหลาย : ก๊อ, ตองก๊อ, มะก๊อซ่วม, มะก๊อแดง, สิเหรง, หลู่หล่า, ทอ, นางกลางแจ๊ะชื่อวิทยาศาสตร์ : Livistona speciosa Kurzวงศ์ : Arecaceae• มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :- วิสัย : ไม้ต้นวงศ์ปาล์ม- ลำต้น : มีลักษณะคล้ายปาล์ม ลำต้นเดี่ยว เรียวเล็ก- ใบ : เป็นพืชใบประกอบ ใบย่อยกระจุกบริเวณปลายใบ เรียงตัวกันคล้ายใบพัด ก้านใบมีหนามโค้งงอ สีน้ำตาลเข้ม กาบใบสั้น และมีติ่งหูใบ- ดอก : ออกดอกเป็นช่อ บริเวณซอกก้านใบ ความยาวของช่อดอกสามารถยาวถึง 1.4 เมตร มีสีขาวอมเขียว- ผล : ลักษณะผลเป็นทรงมนรีหรือทรงไข่ ผลอ่อนเป็นสีเขียว ผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเข้มไปจนถึงน้ำเงินเข้มหรือดำ เมื่อผลสุกเปลือกนอกมีสีน้ำเง