ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ตาก
- อุบลราชธานี
- สุโขทัย
- พะเยา, น่าน
- แพร่
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ตาก
- พะเยา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 5-10 เมตร ลำต้นมีหนามแหลมยาว กิ่งก้าน มีหนามออกตรงข้ามเป็นคู่ เปลือกต้นสีน้ำตาลหรือน้ำตาลคล้ำ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่กลับ กว้าง 5 - 10 เซนติเมตร ยาว 8-14เซนติเมตร ปลายมน โคนสอบ แผ่นใบด้านล่างมีขน มีหูใบระหว่าง ก้านใบ ดอก เดี่ยว ออกที่ซอกใบ ดอกขนาดใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 เซนติเมตร สีขาวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลีบเลี้ยง 5 กลีบกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 เกสร ติดบนหลอดกลีบดอก รังไข่ใต้วงกลีบ ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก ผล คล้ายผลผนังชั้นในแข็ง รูปไข่หรือรูปรี ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร เมล็ดรูปไข่แบน ขนาดเล็ก จำนวนมาก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ออกดอกเดือนธันวาคม - มีนาคม ติดผลเดือนมกราคม - พฤษภาคม
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีนประเทศไทยพบที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณ ป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ