ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่กวง แม่น้ำลี้ แม่น้ำปิง แม่น้ำแม่ตื่น ห้วยแม่ท้อ คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นพืชล้มลุกอายุปีเดียว-หลายปี ต้นสูง ๒๐-๓๐ เซนติเมตร ลำต้นทอดเลื้อย ปลายกิ่งชูขึ้น ใบรูปหอก รูปรี ยาว ๒-๕ เซนติเมตร ไม่มีก้านใบ เรียงตรงข้าม ช่อดอกกลมสีขาว คล้ายดอกบานไม่รู้โรย แต่ขนาดเล็กกว่ามาก เป็นกระจุกออกที่ซอกใบ ไร้ก้านช่อดอก ต้นแก่ที่ขึ้นกลางแจ้งมักมีใบและกิ่งสีแดงอมน้ำตาลแต้ม พบเป็นวัชพืชที่สำคัญในนาข้าว พื้นที่ชุ่มน้ำและตามขอบอ่างเก็บน้ำ ที่ระดับความสูงไม่เกิน ๑,๐๐๐ เมตร
-
พืชชายน้ำ
ถิ่นกำเนิด :
-
เขตร้อนในทวีปอเมริกา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
เชียงใหม่,ลำพูน,ตาก,กำแพงเพชร
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
พืชชายน้ำ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ทำยา
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช