ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 6 – 8 เมตร ใบ รูปไข่กลับ หอกกลับ หรือรูปรี กว้าง 3 – 8 ซม. ยาว 6 – 16 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบสอบ ดอก สีชมพูแกมแดง ออกเป็นช่อห้อยลงจากปลายกิ่งยาวประมาณ 30 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นท่อสั้น ๆ รูปสี่เหลี่ยม ปลายแยกเป็น 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน และติดกับกลีบดอก ผล รูปสี่เหลี่ยม กว้าง 1 – 3 ซม. ยาว 2 – 6 ซม. ปลายตัดภายในมีเมล็ดเดียว
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มรีหรือแผ่กว้าง ปลายกิ่งมักลู่ลง เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นร่องและเป็นสันแหลมตามยาวลำต้น
ใบ:ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับถี่ตอนปลายกิ่ง ใบรูปหอกหรือรูปไข่กลับ กว้าง 10-13 เซนติเมตร ยาว 20-30 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือมีติ่งแหลม โคนใบสอบหรือเป็นรูปลิ่ม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบเกลี้ยง
ดอก:สีชมพู มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ช่อดอกห้อยลงยาว 0.3-1 เมตร กลีบเลี้ยงสีเชียว 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอก 4 กลีบ ปลายกลีบม้วนออก กลีบดอกบิด ดอกร่วงง่าย ดอกบานเต็มที่กว้าง 1-2 เซนติเมตร
ผล:ผลสด รูปชอบชนานหรือทรงกลม มีสันเป็นเหลี่ยม 4 สัน เรียงตามยาวผล เมล็ดรูปไข่ มีเมล็ดเดียวเปลือก:อื่นๆ:

ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มรีหรือแผ่กว้าง ปลายกิ่งมักลู่ลง เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นร่องและเป็นสันแหลมตามยาวลำต้น

ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับถี่ตอนปลายกิ่ง ใบรูปหอกหรือรูปไข่กลับ กว้าง 10-13 เซนติเมตร ยาว 20-30 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือมีติ่งแหลม โคนใบสอบหรือเป็นรูปลิ่ม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบเกลี้ยง

สีชมพู มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ช่อดอกห้อยลงยาว 0.3-1 เมตร กลีบเลี้ยงสีเชียว 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอก 4 กลีบ ปลายกลีบม้วนออก กลีบดอกบิด ดอกร่วงง่าย ดอกบานเต็มที่กว้าง 1-2 เซนติเมตร

ผลสด รูปชอบชนานหรือทรงกลม มีสันเป็นเหลี่ยม 4 สัน เรียงตามยาวผล เมล็ดรูปไข่ มีเมล็ดเดียว

- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 6 – 8 เมตร ใบ รูปไข่กลับ หอกกลับ หรือรูปรี กว้าง 3 – 8 ซม. ยาว 6 – 16 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบสอบ ดอก สีชมพูแกมแดง ออกเป็นช่อห้อยลงจากปลายกิ่งยาวประมาณ 30 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นท่อสั้น ๆ รูปสี่เหลี่ยม ปลายแยกเป็น 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน และติดกับกลีบดอก ผล รูปสี่เหลี่ยม กว้าง 1 – 3 ซม. ยาว 2 – 6 ซม. ปลายตัดภายในมีเมล็ดเดียว
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 6 – 8 เมตร ใบ รูปไข่กลับ หอกกลับ หรือรูปรี กว้าง 3 – 8 ซม. ยาว 6 – 16 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบสอบ ดอก สีชมพูแกมแดง ออกเป็นช่อห้อยลงจากปลายกิ่งยาวประมาณ 30 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นท่อสั้น ๆ รูปสี่เหลี่ยม ปลายแยกเป็น 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน และติดกับกลีบดอก ผล รูปสี่เหลี่ยม กว้าง 1 – 3 ซม. ยาว 2 – 6 ซม. ปลายตัดภายในมีเมล็ดเดียว
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 6 – 8 เมตร ใบ รูปไข่กลับ หอกกลับ หรือรูปรี กว้าง 3 – 8 ซม. ยาว 6 – 16 ซม. ปลายใบทู่ โคนใบสอบ ดอก สีชมพูแกมแดง ออกเป็นช่อห้อยลงจากปลายกิ่งยาวประมาณ 30 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นท่อสั้น ๆ รูปสี่เหลี่ยม ปลายแยกเป็น 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน และติดกับกลีบดอก ผล รูปสี่เหลี่ยม กว้าง 1 – 3 ซม. ยาว 2 – 6 ซม. ปลายตัดภายในมีเมล็ดเดียว
การกระจายพันธุ์ :
- พบได้ทั่วไปในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามริมฝั่งน้ำ คลอง บึง ป่าพรุ และป่าชายเลน
- พบในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น
- พบได้ทั่วไปในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามริมฝั่งน้ำ คลอง บึง ป่าพรุ และป่าชายเลน
- พบได้ทั่วไปในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามริมฝั่งน้ำ คลอง บึง ป่าพรุ และป่าชายเลน
- พบได้ทั่วไปในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามริมฝั่งน้ำ คลอง บึง ป่าพรุ และป่าชายเลน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภู ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้) ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก(ป่าชุมชนดงเซ) ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลหลวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
- บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ลำต้น ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นทรงกระบอก มีปุ่มปมตามลำต้น ปลายกิ่งลู่ลงด้านล่าง
ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายยอด รูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบจักซี่ฟันถี่ แผ่นใบสีเขียวเข้ม ใบอ่อนสีแดง
ดอก ดอกเป็นช่อยาว ออกตามปลายยอด ห้อยลง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ สีแดง เกสรเพศผู้เป็นเส้นฝอย สีชมพู ทิ้งใบเหลือแต่ใบอ่อนเมื่อออกดอก
- ลำต้น ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นทรงกระบอก มีปุ่มปมตามลำต้น ปลายกิ่งลู่ลงด้านล่าง
ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายยอด รูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบจักซี่ฟันถี่ แผ่นใบสีเขียวเข้ม ใบอ่อนสีแดง
ดอก ดอกเป็นช่อยาว ออกตามปลายยอด ห้อยลง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ สีแดง เกสรเพศผู้เป็นเส้นฝอย สีชมพู ทิ้งใบเหลือแต่ใบอ่อนเมื่อออกดอก
- ลำต้น ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นทรงกระบอก มีปุ่มปมตามลำต้น ปลายกิ่งลู่ลงด้านล่าง
ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายยอด รูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบจักซี่ฟันถี่ แผ่นใบสีเขียวเข้ม ใบอ่อนสีแดง
ดอก ดอกเป็นช่อยาว ออกตามปลายยอด ห้อยลง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ สีแดง เกสรเพศผู้เป็นเส้นฝอย สีชมพู ทิ้งใบเหลือแต่ใบอ่อนเมื่อออกดอก
- ลำต้น ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นทรงกระบอก มีปุ่มปมตามลำต้น ปลายกิ่งลู่ลงด้านล่าง
ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายยอด รูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบจักซี่ฟันถี่ แผ่นใบสีเขียวเข้ม ใบอ่อนสีแดง
ดอก ดอกเป็นช่อยาว ออกตามปลายยอด ห้อยลง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ สีแดง เกสรเพศผู้เป็นเส้นฝอย สีชมพู ทิ้งใบเหลือแต่ใบอ่อนเมื่อออกดอก
- ลำต้น ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นทรงกระบอก มีปุ่มปมตามลำต้น ปลายกิ่งลู่ลงด้านล่าง
ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายยอด รูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบจักซี่ฟันถี่ แผ่นใบสีเขียวเข้ม ใบอ่อนสีแดง
ดอก ดอกเป็นช่อยาว ออกตามปลายยอด ห้อยลง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ สีแดง เกสรเพศผู้เป็นเส้นฝอย สีชมพู ทิ้งใบเหลือแต่ใบอ่อนเมื่อออกดอก
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี
- สระบุรี
- พัทลุง, นครศรีธรรมราช
- พัทลุง, สงขลา
- จันทบุรี
- กำแพงเพชร
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- จันทบุรี
- ลำปาง, ตาก
- ตาก
- สุโขทัย
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- พะเยา, น่าน
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- พะเยา
- เชียงใหม่
- สุรินทร์
- ชุมพร
- เชียงใหม่
- สุรินทร์
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- ยะลา, นราธิวาส
- ลำปาง
- นนทบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
- สุรินทร์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ,ปลูกริมน้ำหรือศาลาในสวน ดอกสวยงาม ทนน้ำท่วมขัง รากช่วย ยึดตลิ่ง ยอดอ่อนและดอกอ่อน ทานเป็นผักสด รากใช้เป็นยาระบาย เปลือกใช้ชะล้างบาดแผล และเบื่อปลา ใบแก้ท้องร่วง เมล็ดเป็นยาขับลมแก้ร้อนใน
ที่มาของข้อมูล