ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- เป็นไม้ผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ กึ่งอิงอาศัย (hemi-ephiphyte) ต้นที่ขึ้นเดี่ยวๆ มักจะเกิดจากการปลูก สูงได้ประมาณ 35 เมตร หูใบยาว 0.5-1 ซม. หลุดร่วงง่าย ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 5-25 ซม. ปลายใบยาวคล้ายหาง โคนใบตัดหรือรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมีซิสโทลิท (cystolith) คล้าย ๆ กับผลึกของแคลเซี่ยมคาร์โบเนทที่ผิวใบ ก้านใบยาว 2.5-12 ซม. ดอก (figs) ออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ตามซอกใบ ไร้ก้าน มีใบประดับเล็กที่โคน ฐานดอกทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. สุกเปลี่ยนเป็นสีชมพู ม่วงหรือดำ มีช่องเปิดเล็กๆ ด้านปลาย เกสรเพศผู้เรียงตัวใกล้ช่องเปิด กลีบรวมสีแดง รังไข่สีน้ำตาลแดง
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ กึ่งอิงอาศัย (hemi-ephiphyte)ใบ:ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ รูปไข่กว้างหรือสามเหลี่ยม ปลายแคบและยาว ยาว 5-25 ซม. ปลายใบยาวคล้ายหาง โคนใบตัดหรือรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2.5-12 ซมดอก:ผล:ผลแบบมะเดื่อ 1.2-1.5 ซม. มักออกเป็นคู่กลม ยอดผลบุ๋ม สีเขียวอมเหลือง สุกเป็นสีม่วงถึงดำไม่มีก้าน กาบผล 4-5 กาบเปลือก:อื่นๆ:

ไม้ผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ กึ่งอิงอาศัย (hemi-ephiphyte)
ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ รูปไข่กว้างหรือสามเหลี่ยม ปลายแคบและยาว ยาว 5-25 ซม. ปลายใบยาวคล้ายหาง โคนใบตัดหรือรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2.5-12 ซม

ผลแบบมะเดื่อ 1.2-1.5 ซม. มักออกเป็นคู่กลม ยอดผลบุ๋ม สีเขียวอมเหลือง สุกเป็นสีม่วงถึงดำไม่มีก้าน กาบผล 4-5 กาบ

- ไทรกึ่งอิงอาศัย สูงได้ถึง 35 เมตร หูใบยาว 0.5–1 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 5–25 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง โคนตัดหรือรูปหัวใจ ก้านใบยาว 2.5–12 ซม. ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ไร้ก้าน ใบประดับขนาดเล็ก ฐานดอกกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1–1.5 ซม. สุกเปลี่ยนเป็นสีชมพู ม่วงหรือดำ มีช่องเปิดเล็กๆ ด้านปลาย เกสรเพศผู้เรียงใกล้ช่องเปิด กลีบรวมสีแดง รังไข่สีน้ำตาลแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล)
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 15-25 ม. เปลือกต้นเรียบสีน้ำตาลแกมเทา แตกกิ่งก้านสาขาแผ่กว้าง ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่แกมรูปหัวใจ กว้าง 4-16 ซม. ยาว 7-26 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมนหรือมนตัด ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น แผ่นใบเรียบสีเขียว เนื้อใบหนา ก้านใบยาว 3.5-13 ซม. มีหูใบยาว ดอกออกเป็นช่อแบบช่อมะเดื่อ ซึ่งเจริญอยู่ภายในฐานดอก ตามซอกใบ ดอกย่อยประกอบด้วยดอกตัวผู้อยู่บริเวณใกล้กับช่องเปิด มีกลีบรวม 2 กลีบ รูปใบหอกแกมรูปไข่ สีแดงอ่อน ดอกตัวเมียอยู่ถัดเข้ามา ไม่มีก้าน กลีบรวม 3-4 กลีบ เรียวแคบสีแดง รังไข่สีเหลืองอ่อนถึงเขียวอมเหลืองปลายสีน้ำตาลอมแดง ผลแบบผลมะเดื่อ ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.2-1.5 ซม. ที่ช่องเปิดมีใบประดับกว้าง 2-3 มม. จำนวน 3 ใบ กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ หุ้มด้านล่างของผลโดยรอบ ผิวเป็นจุดสีเขียวอ่อน สุกแล้วเป็นสีแดงเข้มถึงสีดำ
- เป็นไม้ผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ กึ่งอิงอาศัย (hemi-ephiphyte) ต้นที่ขึ้นเดี่ยวๆ มักจะเกิดจากการปลูก สูงได้ประมาณ 35 เมตร หูใบยาว 0.5-1 ซม. หลุดร่วงง่าย ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 5-25 ซม. ปลายใบยาวคล้ายหาง โคนใบตัดหรือรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมีซิสโทลิท (cystolith) คล้าย ๆ กับผลึกของแคลเซี่ยมคาร์โบเนทที่ผิวใบ ก้านใบยาว 2.5-12 ซม. ดอก (figs) ออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ตามซอกใบ ไร้ก้าน มีใบประดับเล็กที่โคน ฐานดอกทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. สุกเปลี่ยนเป็นสีชมพู ม่วงหรือดำ มีช่องเปิดเล็กๆ ด้านปลาย เกสรเพศผู้เรียงตัวใกล้ช่องเปิด กลีบรวมสีแดง รังไข่สีน้ำตาลแดง
- เป็นไม้ผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ กึ่งอิงอาศัย (hemi-ephiphyte) ต้นที่ขึ้นเดี่ยวๆ มักจะเกิดจากการปลูก สูงได้ประมาณ 35 เมตร หูใบยาว 0.5-1 ซม. หลุดร่วงง่าย ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 5-25 ซม. ปลายใบยาวคล้ายหาง โคนใบตัดหรือรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมีซิสโทลิท (cystolith) คล้าย ๆ กับผลึกของแคลเซี่ยมคาร์โบเนทที่ผิวใบ ก้านใบยาว 2.5-12 ซม. ดอก (figs) ออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ตามซอกใบ ไร้ก้าน มีใบประดับเล็กที่โคน ฐานดอกทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. สุกเปลี่ยนเป็นสีชมพู ม่วงหรือดำ มีช่องเปิดเล็กๆ ด้านปลาย เกสรเพศผู้เรียงตัวใกล้ช่องเปิด กลีบรวมสีแดง รังไข่สีน้ำตาลแดง
- เป็นไม้ผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ กึ่งอิงอาศัย (hemi-ephiphyte) ต้นที่ขึ้นเดี่ยวๆ มักจะเกิดจากการปลูก สูงได้ประมาณ 35 เมตร หูใบยาว 0.5-1 ซม. หลุดร่วงง่าย ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 5-25 ซม. ปลายใบยาวคล้ายหาง โคนใบตัดหรือรูปหัวใจ แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมีซิสโทลิท (cystolith) คล้าย ๆ กับผลึกของแคลเซี่ยมคาร์โบเนทที่ผิวใบ ก้านใบยาว 2.5-12 ซม. ดอก (figs) ออกเดี่ยวหรือเป็นคู่ตามซอกใบ ไร้ก้าน มีใบประดับเล็กที่โคน ฐานดอกทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. สุกเปลี่ยนเป็นสีชมพู ม่วงหรือดำ มีช่องเปิดเล็กๆ ด้านปลาย เกสรเพศผู้เรียงตัวใกล้ช่องเปิด กลีบรวมสีแดง รังไข่สีน้ำตาลแดง
การกระจายพันธุ์ :
- ตามวัดทุกภาคทั่วประเทศ
- ทุกภาคทั่วประเทศ
- พบขึ้นทั่วไปในป่าระดับล่างจนถึงในระดับความสูง 1,800 ม. ต่างประเทศพบในแถบเทือกเขาหิมาลัย อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ปากีสถาน จีนตอนใต้ และประเทศแถบคาบสมุทรอินโดจีน
- ตามวัดทุกภาคทั่วประเทศ
- ตามวัดทุกภาคทั่วประเทศ
- ตามวัดทุกภาคทั่วประเทศ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พะเยา, เชียงราย
- ลพบุรี
- แพร่
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- นนทบุรี
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ไม้ดอกไม้ประดับ
- ใบมีสรรพคุณช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ด้วยการนำใบแก่ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำ 3 แก้ว ใช้แบ่งกินก่อนอาหารเช้าและเย็น ผลมีสรรพคุณเป็นยาแก้โรคหัวใจ ผลมีสรรพคุณเป็นยาช่วยขับพิษ เมล็ดใช้เป็นยาลดไข้ ใบมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้จับสั่นเรื้อรัง เปลือกต้นใช้เป็นยาแก้เจ็บคอ ช่วยแก้อาการกระหายน้ำ น้ำจากเปลือกต้นใช้เป็นยาแก้ปวดฟัน รักษารากฟันเป็นหนอง รากใช้เป็นยารักษาโรคเหงือก ใบใช้รักษาโรคคางทูม
- เอาใบอ่อนมา 1 กำมือนำมาต้มกับน้ำ 3 แก้วกิน เช้า-เย็น ยอดอ่อนนำมาทำเป็นอาหาร ช่วยลดระดับน้าตาล
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ