Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rhinoptera jayakari
Rhinoptera jayakari
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Rhinoptera hainanica Chu, 1960
- Rhinoptera sewelli Misra, 1947
- Rhinoptera spec, 2006
ชื่อสามัญ::
-
Shorttail cownose ray
-
Shorttail cownose ray, Oman cownose ray
ชื่อไทย:
-
กระเบนจมูกวัวหางสั้น
-
กระเบนจมูกวัวหางสั้น, กระเบนยี่สน, ยี่สน
-
ปลากระเบนจมูกวัวหางสั้น, ปลากระเบนยี่สน, ยี่สน
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
มนตรี สุมณฑา และวัชชิระ โซ่โดบ
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณใกล้ผิวน้ำถึงใกล้พื้นท้องทะเลตามชายฝั่งทะเล แนวปะการัง จนถึงในมหาสมุทรที่ระดับความลึกน้ำไม่เกิน 100 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 116 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 60-90 ชม. และขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 73 ชม.
- ส่วนหัวกว้างมีความกว้างตรงตำแหน่งตอนท้ายรูช่วยหายใจมากกว่า 16 % ของความกว้างแผ่นลำตัว ปลายจะงอยปากเว้า ส่วนแผ่นครีบใต้ปลายจะงอยปากยาว ขอบท้ายยาวเลยปาก มีฟัน 9-11 แถว ครีบหลังมีจุดเริ่มต้นอยู่ในแนวฐานหรือตรงท้ายฐานครีบท้อง หางสั้น ยาวน้อยกว่า 1.2 เท่าของความกว้างแผ่นลำตัว (น้อยกว่า 2 เท่าของ DL) มีเงี่ยง 1 อันซึ่งมีจุดเริ่มต้นใกล้ฐานครีบหลัง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลเข้มหรือสีเทาดำ และด้านท้องสีขาว มีขอบสีดำเป็นแนวแคบๆ
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ชอบอาศัยอยู่รวมฝูงขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่กินหอย กุ้งและปู รวมทั้งปลาและสัตว์ขนาดเล็กที่อาศัยใกล้ผิวน้ำเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภคได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2563)
ระบบนิเวศ
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เอื้องกุหลาบพวง
Aerides
Turbinaria renifomis
Agardhiella mexicana
Rimelia reticulate
Sargassum longifructum
Arytera littoralis
Previous
Next