Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cassine viburnifolia
Cassine viburnifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cassine viburnifolia
(Juss.) Ding Hou
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
กระจับนกเล
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Celastrales
วงศ์::
Celastraceae
สกุล:
Elaeodendron
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
27 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
27 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:36 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:36 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก (Small tree)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-8 ม. เรือนยอดโปร่ง เปลือกนอกเรียบ สีเทาถึงเทาคล้ำ มีช่องอากาศตามลำต้น
ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก แผ่นใบรูปรี รูปไข่กลับ รูปไข่กว้างถึงรูปมนกลม ขนาด 2-4x3-7 ซม. โคนใบแหลมถึงสอบเป็นรูปลิ่ม ขอบใบหยักมนถี่ตื้นและมีหนามสีดำขนาดเล็กที่ปลายหยัก ปลายใบแหลมทู่ถึงกลม เส้นใบมองเห็นไม่ชัดเจน เนื้อใบคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบด้านบนเกลี้ยงสีเขียว ด้านล่าง สีเขียวอ่อนถึงนวล ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ด้านบนเป็นร่องตื้น หูใบขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย
ดอก แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ช่อดอกยาวถึง 12 ซม. ก้านช่อดอกยาวประมาณกึ่งกลางช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กสีขาว ก้านดอกย่อยสั้น 0.1-0.2 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ ปลายกลีบทู่ เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดระหว่างกลีบดอกตามขอบจานฐานรองดอก เกสรเพศเมียขนาดเล็ก ก้านเกสรสั้นมาก ส่วนปลายแยกเป็น 2 แฉกสั้น ๆ รูปกรวย จานฐานดอกขนาดใหญ่ ออกดอกระหว่างเดือนสิงหาคม-พฤศจิกาน ผล แบบผลเมล็เดียวแข็ง รูปทรงไข่กลับ หน้าตัดมักเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ขนาด 0.3-0.5 ซม. ผนังผลชั้นกลางพองเป็นคอร์กนุ่ม ผนังชั้นในแข็ง ผลสุกสีลืองมีหนึ่งเมล็ด ออกผลระหว่างเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
การกระจายพันธุ์ :
-
บริเวณหมู่เกาะอันดามัน ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ หมู่เกาะเซเลเบส ประเทศไทยพบเฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน
ที่มาของข้อมูล
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ยางกราด
Dipterocarpus intricatus
Hedychium flavum
Germainia thorelii
ตาลหก
Litsea verticillata
ฮ่อสะพายควาย
Sphenodesme mekongensis
Prunus javanica
Previous
Next