Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cananga latifolia
Cananga latifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cananga latifolia
(Hook.f. & Thomson) Finet & Gagnep.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
สะแกแสง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Cananga
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 8-10 ม. ใบกว้าง ดอกออกเป็นกระจุก ที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 วง สีเหลืองอมเขียว โคนกลีบสีเขียว ยาว 5-8 ซม. มีกลิ่นหอม ออกดอกเดือนพฤษภาคม
-
ไม้ต้น สูง 8-10 ม. ใบกว้าง ดอกออกเป็นกระจุก ที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 วง สีเหลืองอมเขียว โคนกลีบสีเขียว ยาว 5-8 ซม. มีกลิ่นหอม ออกดอกเดือนพฤษภาคม
-
ไม้ต้น สูง 8-10 ม. ใบกว้าง ดอกออกเป็นกระจุก ที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 วง สีเหลืองอมเขียว โคนกลีบสีเขียว ยาว 5-8 ซม. มีกลิ่นหอม ออกดอกเดือนพฤษภาคม
-
ไม้ต้น สูง 8-10 ม. ใบกว้าง ดอกออกเป็นกระจุก ที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 วง สีเหลืองอมเขียว โคนกลีบสีเขียว ยาว 5-8 ซม. มีกลิ่นหอม ออกดอกเดือนพฤษภาคม
-
ไม้ยืนต้น สูง 20-30 ม. ใบ เดี่ยวเรียงสลับรูปไข่กลับแกมขอบขนาน ปลายใบแหลมโคนใบกลม หรือเว้าเล็กน้อย แผ่นใบและก้านใบมีขนหนาแน่น มีเส้นใบ 13-15 คู่ ดอก ช่อออกเป็นกระจุกห้อยลงดอกย่อย 2 ดอก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในป่าผลัดใบ
-
พบในป่าผลัดใบ
-
พบในป่าผลัดใบ
-
พบในป่าผลัดใบ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
มุกดาหาร
-
ตาก
-
ลพบุรี
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ยืนต้น
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
โยทะกา
Bauhinia monandra
Pomatocalpa tonkinense
Argostemma rotundicalyx
Derris reticulata
Dendrobium gibsonii
Carex teinogyna
Previous
Next