Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Polypodium polycarpon.
Polypodium polycarpon.
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Doryopteris ludens
(Wall. ex Hook.) J.Sm.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
เฟินเขากวาง
ชื่อท้องถิ่น::
-
Climbing Bird's Nest Fern
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Pteridaceae
สกุล:
Polypodium
วันที่อัพเดท :
20 ก.พ. 2568 13:35 น.
วันที่สร้าง:
20 ก.พ. 2568 13:35 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าเลื้อย มีขนปกคลุมแน่น ใบสีเขียว ค่อนข้างแข็งรูปขอบขนาน ตอนปลายแตกเป็นแฉกคล้ายเขากวาง ใบยาวประมาณ 40-120 ซม. เส้นกลางใบนูนเด่นชัด ไร้ดอก ขยายพันธุ์โดยการเพาะสปอร์ คือ เริ่มจากการเก็บสปอร์ใต้ใบเฟิน โดยเลือกจากกลุ่มอับสปอร์ที่มีสีน้ำตาลอ่อนถึงน้ำตาลเข้ม ซึ่งแสดงว่าสปอร์มีความแก่เต็มที่ ใช้มีดตัด ใบเฟินในส่วนที่มีสปอร์เก็บไว้ในซองกระดาษที่ไม่ทำให้สปอร์ขนาดเล็กฟุ้งกระจาย จากนั้นเก็บไว้ใน บริเวณที่ร่มและแห้ง ภายใน 1-2 วัน สปอร์ก็จะแตกและปล่อยให้สปอร์ขนาดเล็กหลุดออกจากอับสปอร์ และตกอยู่ในซองกระดาษ เมื่ออับสปอร์แตกออกหมดแล้ว ใช้คีมขนาดเล็กคัดเอาอับสปอร์ ส่วนของใบ หรือสิ่งต่าง ๆ ออกจากสปอร์ แล้วเก็บสปอร์ทั้งหมดเตรียมเพาะต่อไป ชอบดินที่มีความร่วนพอเหมาะ เฟินต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสม กลางวันอยู่ในช่วง 19-27 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิกลางคืนลดลงต่ำกว่าอุณหภูมิกลางวันประมาณ 4-6 องศาเซลเซียส แสงสว่างประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ ความชื้นในอากาศประมาณ 60-80ื เปอร์เซ็นต์ เมื่อเตรียมต้นเฟิน กระถางและดิน สูตรดินผสมสำหรับ ปลูกเฟิน ดินตะกอนหรือดินร่วน 1 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน อินทรีย์วัตถุ (ปุ๋ยคอก+ปุ๋ยหมัก) 4 ส่วน เรียบร้อยแล้ว ให้นำเศษกระถางแตกคว่ำที่รูก้นกระถาง แล้วโรยทรายหยาบรองพื้น ใส่ดินปลูก ให้มากพอ แล้วนำต้นเฟินลงปลูก เติมดินให้เต็มโดยให้ระดับผิวดินอยู่ต่ำกว่าขอบกระถาง 1 นิ้ว และ อยู่ระดับเดียวกับโคนกอหรือโคนต้นของเฟิน กดดินให้แน่น จากนั้นลดน้ำให้ชุ่ม มีโรคแมลงและศัตรูธรรมชาติ ิเหมือนกับโรคแมลงและศัตรูธรรมชาติของกระแตไต่ไม้ การเจริญเติบโตหลังจากการพักตัวในฤดูแล้ง
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าเลื้อย มีขนปกคลุมแน่น ใบสีเขียว ค่อนข้างแข็งรูปขอบขนาน ตอนปลายแตกเป็นแฉกคล้ายเขากวาง ใบยาวประมาณ 40-120 ซม. เส้นกลางใบนูนเด่นชัด ไร้ดอก ขยายพันธุ์โดยการเพาะสปอร์ คือ เริ่มจากการเก็บสปอร์ใต้ใบเฟิน โดยเลือกจากกลุ่มอับสปอร์ที่มีสีน้ำตาลอ่อนถึงน้ำตาลเข้ม ซึ่งแสดงว่าสปอร์มีความแก่เต็มที่ ใช้มีดตัด ใบเฟินในส่วนที่มีสปอร์เก็บไว้ในซองกระดาษที่ไม่ทำให้สปอร์ขนาดเล็กฟุ้งกระจาย จากนั้นเก็บไว้ใน บริเวณที่ร่มและแห้ง ภายใน 1-2 วัน สปอร์ก็จะแตกและปล่อยให้สปอร์ขนาดเล็กหลุดออกจากอับสปอร์ และตกอยู่ในซองกระดาษ เมื่ออับสปอร์แตกออกหมดแล้ว ใช้คีมขนาดเล็กคัดเอาอับสปอร์ ส่วนของใบ หรือสิ่งต่าง ๆ ออกจากสปอร์ แล้วเก็บสปอร์ทั้งหมดเตรียมเพาะต่อไป ชอบดินที่มีความร่วนพอเหมาะ เฟินต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสม กลางวันอยู่ในช่วง 19-27 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิกลางคืนลดลงต่ำกว่าอุณหภูมิกลางวันประมาณ 4-6 องศาเซลเซียส แสงสว่างประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ ความชื้นในอากาศประมาณ 60-80ื เปอร์เซ็นต์ เมื่อเตรียมต้นเฟิน กระถางและดิน สูตรดินผสมสำหรับ ปลูกเฟิน ดินตะกอนหรือดินร่วน 1 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน อินทรีย์วัตถุ (ปุ๋ยคอก+ปุ๋ยหมัก) 4 ส่วน เรียบร้อยแล้ว ให้นำเศษกระถางแตกคว่ำที่รูก้นกระถาง แล้วโรยทรายหยาบรองพื้น ใส่ดินปลูก ให้มากพอ แล้วนำต้นเฟินลงปลูก เติมดินให้เต็มโดยให้ระดับผิวดินอยู่ต่ำกว่าขอบกระถาง 1 นิ้ว และ อยู่ระดับเดียวกับโคนกอหรือโคนต้นของเฟิน กดดินให้แน่น จากนั้นลดน้ำให้ชุ่ม มีโรคแมลงและศัตรูธรรมชาติ ิเหมือนกับโรคแมลงและศัตรูธรรมชาติของกระแตไต่ไม้ การเจริญเติบโตหลังจากการพักตัวในฤดูแล้ง
การกระจายพันธุ์ :
-
กระจายพันธุ์ในเขตร้อน เป็นเฟินที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งปลูกได้ดีในประเทศไทย
-
กระจายพันธุ์ในเขตร้อน เป็นเฟินที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งปลูกได้ดีในประเทศไทย
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ardisia montana
Bulbophyllum pallidum
Burmannia disticha
Impatiens patula
Heterodermia casarettiana
Kaempferia fallax
Previous
Next