Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Manglietia garrettii
Manglietia garrettii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Manglietia garrettii
Craib
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
มณฑาป่า
ชื่อท้องถิ่น::
-
มณฑาดอย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Magnoliaceae
สกุล:
Magnolia
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบเดี่ยวหนาคล้ายแผ่นหนัง รูปรี แกมขอบขนาน กว้าง 8-12 ซม. ยาว 18-30 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม เส้นใบ 15-25 คู่ ก้านใบยาว 3-5 ซม. มีขนสีน้ำตาลแน่น โคนก้านบวมพอง ดอกสีชมพูแดงแกมม่วง เมื่อตูมรูปทรงป้อม ยาว 6-6.5 ซม. กว้าง 2.2-2.5 ซม. ก้านดอกยาว 2.5-3 ซม. กลีบดอกรูปกระทง หนา อวบน้ำ กลีบนอกสุด กว้าง 3 ซม. ยาว 6-6.5 ซม. เกสรผู้ ยาว 1.0-1.5 ซม. ผลเป็นผลกลุ่ม รูปไข่ป้อม กว้าง 3.5-4 ซม. ยาว 4-5 ซม. มีผลย่อยจำนวนมาก เมื่อแก่จะแยกกัน ส่วนบนจะมีจงอยสั้น
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบเดี่ยวหนาคล้ายแผ่นหนัง รูปรี แกมขอบขนาน กว้าง 8-12 ซม. ยาว 18-30 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม เส้นใบ 15-25 คู่ ก้านใบยาว 3-5 ซม. มีขนสีน้ำตาลแน่น โคนก้านบวมพอง ดอกสีชมพูแดงแกมม่วง เมื่อตูมรูปทรงป้อม ยาว 6-6.5 ซม. กว้าง 2.2-2.5 ซม. ก้านดอกยาว 2.5-3 ซม. กลีบดอกรูปกระทง หนา อวบน้ำ กลีบนอกสุด กว้าง 3 ซม. ยาว 6-6.5 ซม. เกสรผู้ ยาว 1.0-1.5 ซม. ผลเป็นผลกลุ่ม รูปไข่ป้อม กว้าง 3.5-4 ซม. ยาว 4-5 ซม. มีผลย่อยจำนวนมาก เมื่อแก่จะแยกกัน ส่วนบนจะมีจงอยสั้น
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบขึ้นกระจายในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1000-1800 ม. ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบขึ้นกระจายในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1000-1800 ม. ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Flickingeria angustifolia
Diplazium sylvaticum
Xanthophyllum virens
Mallotus miquelianus
Crepidium biauritum
Persicaria paradoxa
Previous
Next