-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยทรงกลมหรือรูปไข่ ใบ มี 1 ใบ รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 3 ซม. ยาว 13-14 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ ยาว ประมาณ 8 ซม. ดอก ออกห่างๆ ตามแกนช่อ มี 20-40 ดอก ขนาดบานเต็มที่กว้าง 3 มม. ยาว 8 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลือง มีเส้นตามยาวสีม่วง กลีบปากสีเหลืองเข้ม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยทรงกลมหรือรูปไข่ ใบ มี 1 ใบ รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 3 ซม. ยาว 13-14 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ ยาว ประมาณ 8 ซม. ดอก ออกห่างๆ ตามแกนช่อ มี 20-40 ดอก ขนาดบานเต็มที่กว้าง 3 มม. ยาว 8 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลือง มีเส้นตามยาวสีม่วง กลีบปากสีเหลืองเข้ม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยทรงกลมหรือรูปไข่ ใบ มี 1 ใบ รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 3 ซม. ยาว 13-14 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ ยาว ประมาณ 8 ซม. ดอก ออกห่างๆ ตามแกนช่อ มี 20-40 ดอก ขนาดบานเต็มที่กว้าง 3 มม. ยาว 8 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลือง มีเส้นตามยาวสีม่วง กลีบปากสีเหลืองเข้ม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยทรงกลมหรือรูปไข่ ใบ มี 1 ใบ รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 3 ซม. ยาว 13-14 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ ยาว ประมาณ 8 ซม. ดอก ออกห่างๆ ตามแกนช่อ มี 20-40 ดอก ขนาดบานเต็มที่กว้าง 3 มม. ยาว 8 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลือง มีเส้นตามยาวสีม่วง กลีบปากสีเหลืองเข้ม
-
ระบบนิเวศ :
-
Tropical evergreen forest, dry evergreen forest,
mixed deciduous forest, dry deciduous dipterocarp forest,
hill evergreen forest, 0-1,200 m alt.
-
การกระจายพันธุ์ :
-
E Himalaya, Myanmar, S China, Laos,
Cambodia, Vietnam.
-
พบตามป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค ตะวันออก และภาคใต้ ออกดอกเดือนตุลาคม
-
พบตามป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค ตะวันออก และภาคใต้ ออกดอกเดือนตุลาคม
-
พบตามป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค ตะวันออก และภาคใต้ ออกดอกเดือนตุลาคม
-
พบตามป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค ตะวันออก และภาคใต้ ออกดอกเดือนตุลาคม
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,ChiangMai,Tak,Sukhothai,Loei,Mukdahan,BuriRam,SiSaKet,widelydistributed,Phangnga,NakhonSiThammarat
-
เชียงใหม่, ดอยสุเทพ, อมก๋อย, ปางมะผ้า, แม่ฮ่องสอน, ตาก, สุโขทัย, เลย, ศรีสะเกษ, เขาพระวิหาร, มุกดาหาร, บุรีรัมย์, นครศรีธรรมราช, พังงา, เกาะพยาม