Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cnidoscolus chayamansa
Cnidoscolus chayamansa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cnidoscolus chayamansa
McVaugh
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ชูรส (ไชยา)
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักไชย ผักชายา ผักโขมต้น ต้นผงชูรส ต้นมะละกอกินใบ หรือคะน้าเม็กซิโก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Cnidoscolus
วันที่อัพเดท :
13 ก.พ. 2566 23:27 น.
วันที่สร้าง:
13 ก.พ. 2566 23:27 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- เป็นไม้พุ่ม อายุหลายปี ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ มีความสูงของลำต้นประมาณ 2-6 ม.
- เปลือกลำต้น : เป็นสีน้ำตาลมีน้ำยางสีขาวอยู่ภายใน
- ลักษณะของใบ : คล้ายกับใบเมเปิ้ล ขอบใบแยกออกเป็น 3-4 แฉก
- ดอก : มีสีขาว ออกดอกเป็นช่อบริเวณปลายกิ่ง ในแต่ละช่อประกอบไปด้วยดอกย่อยจำนวนมาก โดยทั่วไปมักตัดแต่งเป็นทรงพุ่มให้มีความสูงประมาณ 2 ม. เพื่อให้สะดวกต่อการเก็บเกี่ยว
-
- เป็นไม้พุ่ม อายุหลายปี ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ มีความสูงของลำต้นประมาณ 2-6 ม.
- เปลือกลำต้น : เป็นสีน้ำตาลมีน้ำยางสีขาวอยู่ภายใน
- ลักษณะของใบ : คล้ายกับใบเมเปิ้ล ขอบใบแยกออกเป็น 3-4 แฉก
- ดอก : มีสีขาว ออกดอกเป็นช่อบริเวณปลายกิ่ง ในแต่ละช่อประกอบไปด้วยดอกย่อยจำนวนมาก โดยทั่วไปมักตัดแต่งเป็นทรงพุ่มให้มีความสูงประมาณ 2 ม. เพื่อให้สะดวกต่อการเก็บเกี่ยว
-
- เป็นไม้พุ่ม อายุหลายปี ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ มีความสูงของลำต้นประมาณ 2-6 ม.
- เปลือกลำต้น : เป็นสีน้ำตาลมีน้ำยางสีขาวอยู่ภายใน
- ลักษณะของใบ : คล้ายกับใบเมเปิ้ล ขอบใบแยกออกเป็น 3-4 แฉก
- ดอก : มีสีขาว ออกดอกเป็นช่อบริเวณปลายกิ่ง ในแต่ละช่อประกอบไปด้วยดอกย่อยจำนวนมาก โดยทั่วไปมักตัดแต่งเป็นทรงพุ่มให้มีความสูงประมาณ 2 ม. เพื่อให้สะดวกต่อการเก็บเกี่ยว
-
- เป็นไม้พุ่ม อายุหลายปี ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ มีความสูงของลำต้นประมาณ 2-6 ม.
- เปลือกลำต้น : เป็นสีน้ำตาลมีน้ำยางสีขาวอยู่ภายใน
- ลักษณะของใบ : คล้ายกับใบเมเปิ้ล ขอบใบแยกออกเป็น 3-4 แฉก
- ดอก : มีสีขาว ออกดอกเป็นช่อบริเวณปลายกิ่ง ในแต่ละช่อประกอบไปด้วยดอกย่อยจำนวนมาก โดยทั่วไปมักตัดแต่งเป็นทรงพุ่มให้มีความสูงประมาณ 2 ม. เพื่อให้สะดวกต่อการเก็บเกี่ยว
-
- เป็นไม้พุ่ม อายุหลายปี ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ มีความสูงของลำต้นประมาณ 2-6 ม.
- เปลือกลำต้น : เป็นสีน้ำตาลมีน้ำยางสีขาวอยู่ภายใน
- ลักษณะของใบ : คล้ายกับใบเมเปิ้ล ขอบใบแยกออกเป็น 3-4 แฉก
- ดอก : มีสีขาว ออกดอกเป็นช่อบริเวณปลายกิ่ง ในแต่ละช่อประกอบไปด้วยดอกย่อยจำนวนมาก โดยทั่วไปมักตัดแต่งเป็นทรงพุ่มให้มีความสูงประมาณ 2 ม. เพื่อให้สะดวกต่อการเก็บเกี่ยว
การขยายพันธุ์ :
-
- การขยายพันธุ์ทำได้โดยการนำกิ่งที่ค่อนข้างแก่มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วชำลงถุงดำ ใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์กิ่งจะเริ่มแตกใบอ่อน รอให้ต้นแข็งแรงจึงย้ายลงปลูกในดิน
-
- การขยายพันธุ์ทำได้โดยการนำกิ่งที่ค่อนข้างแก่มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วชำลงถุงดำ ใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์กิ่งจะเริ่มแตกใบอ่อน รอให้ต้นแข็งแรงจึงย้ายลงปลูกในดิน
-
- การขยายพันธุ์ทำได้โดยการนำกิ่งที่ค่อนข้างแก่มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วชำลงถุงดำ ใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์กิ่งจะเริ่มแตกใบอ่อน รอให้ต้นแข็งแรงจึงย้ายลงปลูกในดิน
-
- การขยายพันธุ์ทำได้โดยการนำกิ่งที่ค่อนข้างแก่มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วชำลงถุงดำ ใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์กิ่งจะเริ่มแตกใบอ่อน รอให้ต้นแข็งแรงจึงย้ายลงปลูกในดิน
-
- การขยายพันธุ์ทำได้โดยการนำกิ่งที่ค่อนข้างแก่มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วชำลงถุงดำ ใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์กิ่งจะเริ่มแตกใบอ่อน รอให้ต้นแข็งแรงจึงย้ายลงปลูกในดิน
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
รู้จักไหม? ต้นผงชูรส :: • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cnidoscolus chayamansa McVaugh• ชื่อพ้อง : Cnidoscolus aconitifolius subsp. aconitifolius• วงศ์ : Euphorbiaceae• ชื่ออื่น ๆ : ไชยา, ชายา, คะน้าเม็กซิโก, คะน้าแม็กซิกัน, ผักโขมต้น, ต้นผงชูรส, กกแซ่บ, มะละกอกินใบ, Chaya หรือ Chayamansa (สเปน) แปลว่า ลมหายใจของชีวิต , Tree-spinach (อังกฤษ) ไชยา หรือ ผักโขมต้นที่บางคนเรียกกันนั้น อยู่ในวงศ์เดียวกับมันสำปะหลัง ยางพารา หรือสบู่ดำ ซึ่งผักไชยานั้นไม่ได้เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย เชื่อกันว่ามีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของประเทศเม็กซิโก มีการกระจายพันธุ์โดยทั่วไปในกัวเตมาลาและอเมริกากลาง• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : - วิสัย : เป็นไม้พุ่มที่ม
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pollia secundiflora
Wetria insignis
Nephroma tropicum
Strychnos lucida
Dendrobium dixonianum
เมียดต้น
Litsea martabarnica
Previous
Next