Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Baccaurea kunstleri.
Baccaurea kunstleri.
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Baccaurea
kunstleri. King ex Gage
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
จังไหร, มะไฟลิง
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะไฟลิง(นราธิวาส); กะจำปูลิง(ตรัง, ยะลา); จำรี(ปัตตานี); จำไร(นครสีธรรมราช)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Phyllanthaceae
สกุล:
Baccaurea
วันที่อัพเดท :
13 ก.พ. 2566 23:26 น.
วันที่สร้าง:
13 ก.พ. 2566 23:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 10-15 เมตร เปลือกไม้ ไม่เรียบ มียาง สีน้ำตาลแกมเทา
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตัวเวียนสลับ แผ่นใบเรียบรูปรีหรือรูปไข่ ผิวใบเรียบ ทั้งสองด้าน ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน เส้นใบแตกแบบขนนก เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม
ดอก เป็นช่อกระจะ ขนาดเล็ก ออกบริเวณกิ่งก้านขนาดใหญ่และบริเวณตอนบน สีขาวเหลือง
ผล ผลเดี่ยว เป็นช่อยาว รูปผลกลม ปลายผลมีติ่งแหลมสั้นๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลือง เปลือกแข็ง เมื่อบีบจะแตกออกกลางพู เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงส้ม รสเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะ ผลจะทะยอยออกใน เดือนเมษายน-กรกฎาคม ขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด
-
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 10-15 เมตร เปลือกไม้ ไม่เรียบ มียาง สีน้ำตาลแกมเทา
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตัวเวียนสลับ แผ่นใบเรียบรูปรีหรือรูปไข่ ผิวใบเรียบ ทั้งสองด้าน ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน เส้นใบแตกแบบขนนก เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม
ดอก เป็นช่อกระจะ ขนาดเล็ก ออกบริเวณกิ่งก้านขนาดใหญ่และบริเวณตอนบน สีขาวเหลือง
ผล ผลเดี่ยว เป็นช่อยาว รูปผลกลม ปลายผลมีติ่งแหลมสั้นๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลือง เปลือกแข็ง เมื่อบีบจะแตกออกกลางพู เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงส้ม รสเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะ ผลจะทะยอยออกใน เดือนเมษายน-กรกฎาคม ขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด
-
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 10-15 เมตร เปลือกไม้ ไม่เรียบ มียาง สีน้ำตาลแกมเทา
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตัวเวียนสลับ แผ่นใบเรียบรูปรีหรือรูปไข่ ผิวใบเรียบ ทั้งสองด้าน ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน เส้นใบแตกแบบขนนก เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม
ดอก เป็นช่อกระจะ ขนาดเล็ก ออกบริเวณกิ่งก้านขนาดใหญ่และบริเวณตอนบน สีขาวเหลือง
ผล ผลเดี่ยว เป็นช่อยาว รูปผลกลม ปลายผลมีติ่งแหลมสั้นๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลือง เปลือกแข็ง เมื่อบีบจะแตกออกกลางพู เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงส้ม รสเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะ ผลจะทะยอยออกใน เดือนเมษายน-กรกฎาคม ขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด
-
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 10-15 เมตร เปลือกไม้ ไม่เรียบ มียาง สีน้ำตาลแกมเทา
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตัวเวียนสลับ แผ่นใบเรียบรูปรีหรือรูปไข่ ผิวใบเรียบ ทั้งสองด้าน ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน เส้นใบแตกแบบขนนก เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม
ดอก เป็นช่อกระจะ ขนาดเล็ก ออกบริเวณกิ่งก้านขนาดใหญ่และบริเวณตอนบน สีขาวเหลือง
ผล ผลเดี่ยว เป็นช่อยาว รูปผลกลม ปลายผลมีติ่งแหลมสั้นๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลือง เปลือกแข็ง เมื่อบีบจะแตกออกกลางพู เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงส้ม รสเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะ ผลจะทะยอยออกใน เดือนเมษายน-กรกฎาคม ขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด
-
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 10-15 เมตร เปลือกไม้ ไม่เรียบ มียาง สีน้ำตาลแกมเทา
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตัวเวียนสลับ แผ่นใบเรียบรูปรีหรือรูปไข่ ผิวใบเรียบ ทั้งสองด้าน ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน เส้นใบแตกแบบขนนก เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม
ดอก เป็นช่อกระจะ ขนาดเล็ก ออกบริเวณกิ่งก้านขนาดใหญ่และบริเวณตอนบน สีขาวเหลือง
ผล ผลเดี่ยว เป็นช่อยาว รูปผลกลม ปลายผลมีติ่งแหลมสั้นๆ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลือง เปลือกแข็ง เมื่อบีบจะแตกออกกลางพู เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงส้ม รสเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะ ผลจะทะยอยออกใน เดือนเมษายน-กรกฎาคม ขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Glochidion lanceolarium
Dendrophthoe incarnata
Macroptilium atropurpureum
หูกวาง
Terminalia catappa
Ophiopogon brevipes
Caryota obtusa
Previous
Next