Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Brachiaria distachya
Brachiaria distachya
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Brachiaria distachya
Stapf
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
หญ้าตีนกา (ประจวบคีรีขันธ์) หญ้าขนเล็ก หญ้าข้อ green summer grass, arm grass, millet
-
หญ้าตีนกา
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าตีนกา
-
Ya tin ka
-
หญ้าตีนกา (ประจวบคีรีขันธ์) หญ้าขนเล็ก หญ้าข้อ green summer grass, arm grass, millet
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Brachiaria
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:28 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Annual prostrate herb.
-
ต้นสูง 50-120 เซนติเมตร ลำต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.3-2.7 มิลลิเมตร แผ่นใบกว้าง 0.7-1.2 เซนติเมตร ยาว 4.4-13.0 เซนติเมตร กาบใบยาว 3-7 เซนติเมตร ขอบกาบใบมีขนยาว 1-2 มิลลิเมตร มีลิ้นใบ (ligule) ลักษณะเป็นแผนเส้นขน (fringe of hairs) ยาว 1.0-1.5 มิลลิเมตร ช่อดอกยาว17.6-31.6 เซนติเมตร มี 3-8 ช่อดอกย่อย (raceme) แต่ละ raceme ยาว3-6 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
Open sandy ground, on beaches, edge of cultivated areas, to 1,200 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
India, Sri Lanka, Myanmar, Malaysia,
Philippines.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,KhonKaen,NakhonRatchasima,UdonThani,Kanchanaburi,PrachuapKhiriKhan,LopBuri,Bangkok,Krabi,Satun,
Pattani
-
ลำปาง, นราธิวาส, นครราชสีมา, พังงา, ยะลา, สงขลา, อุดรธานี, อำนาจเจริญ, สระบุรี, ชัยภูมิ, ชัยนาท
-
ลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี ลักษณะการเจริญเติบโตลำต้นเลื้อย และชูส่วนยอดขึ้น แตกรากตามข้อที่แตะดิน ชอบขึ้นรวมกลุ่มแน่น ลำต้นเรียวเล็ก ไม่มีขน ใบเรียวยาวใบคล้ายหอก ฐานใบมนโอบรอบลำต้น ใบด้านหน้ามีขนเล็กน้อย หลังใบมีขนปานกลางถึงมาก มีลิ้นใบ (ligule) ลักษณะเป็นแผนเส้นขน (fringe of hairs) ใบ กาบใบ ลำต้น และข้อของหญ้าชนิดนี้มักมีสีเขียวปนน้ำตาลแดงต้นที่อายุมากมักมีสีม่วงแดง ช่อดอก มี 3-8 ช่อดอกย่อย (raceme) แต่ละ raceme ยาว3-6 เซนติเมตร ดอกมีสีเขียว และเขียวปนน้ำตาลแดง อับเรณู (anther) มีสีเหลืองสดถึงเหลืองส้ม ยอดเกสรเพศเมีย (stigma) มีสีม่วงเข้มเปลือกมังคุด ออกดอกตลอดทั้งปี แต่ติดเมล็ดน้อย
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 30-232 เมตร พบที่ อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดพังงา อำเภอถ้ำทะลุ จังหวัดยะลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุดรธานี จังหวัดอำนาจเจริญ อำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี อำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Fissistigma fulgens
Amorphophallus lunatus
Begonia vagans
Phalaenopsis difformis
Bulbophyllum capillipes
Phyllostachys bambusoides
Previous
Next