-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางหรือใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลาตรง มีหนามทั่วไป ใบ เป็นใบเดียวลักษณะเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่งช่อหนึ่งมีปลายใบย่อยแผ่ออกเป็นวงกลม 5-7 ใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลี้ยง ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาวโคนก้านบวมเล็กน้อย ดอก โตสีชมพูแกมเลือดหมูที่เป็นสีทองหายาก มีกลิ่นหอมเอียน ออกเป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆ สีคล้ำขอบหยัก 3-4 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนาน เมื่อบานเต็มที่ ขนาด 8-10 ซม. ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วดอก หลุดล่วงง่าย เกสรผู้มีจำนวนมาก ติดกันเป็นกลุ่ม และอยู่ติดกับฐานดอกด้านใน ผล รูปทรงกระบอก ผิวแข็ง เมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอย ประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลมสีดำมีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
-
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
-
พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
-
พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
-
พบขึ้นในที่ราบและป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขา ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
บริเวณจุดผ่อนปรนไทย-ลาว อำเภอสองแคว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
น่าน
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
สระบุรี
-
เพชรบุรี
-
ชลบุรี
-
จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
สุพรรณบุรี
-
น่าน
-
น่าน
-
ชลบุรี
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ตาก
-
ตาก
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกว้างถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงพุ่มเป็นรูปไข่ มีความสูงของลำต้นประมาณ 15-25 เมตร (บ้างว่าสูงประมาณ 25-30 เมตร) และความกว้างของทรงพุ่มประมาณ 15 เมตร ลำต้นมีลักษณะเปลาตรงและมีหนามอยู่ทั่วลำต้นและกิ่ง เห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ต้นอ่อนจะเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด โดยจะพบขึ้นในที่ราบและตามป่าเบญจพรรณ ตามเชิงเขาและไหล่เขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-600 เมตร ซึ่งในปัจจุบันต้นงิ้วจะหาดูได้ยากมาก จะมีปลูกเฉพาะถิ่นทางภาคเหนือไม่กี่ที่เท่านั้น
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลม
-
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด