Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Eragrostis malayana
Eragrostis malayana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Eragrostis malayana
Stapf
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
หญ้าลังกา
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าลังกา (สตูล) ; หญ้าไข่เห็บ (นราธิวาส)
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Poaceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชปีเดียว (annual) ถึง 2-3 ปี ต้นเป็นกอกระจุก (rosette) ค่อนข้างแผ่ (semi-erect) ลำต้นเรียบ สีเขียวอมเหลือง ส่วนที่โดนแสงมากมีสีม่วงดำ สีใบเขียว หลังใบเขียวปนม่วงแดง ผิวใบเรียบ ค่อนข้างนุ่มเล็กน้อย ขอบใบเรียบ กาบใบสีเขียวอมเหลือง ลิ้นใบเป็นแผ่นหยักขึ้นลงสั้นๆ (membranous-serrate(toothed)) และมีขนที่เขี้ยวใบหรือหูใบ ออกดอกตลอดปี ช่อดอกแบบแยกแขนง (panicle) โดยกิ่งสาขาย่อยเป็นเส้นละเอียด กลุ่มดอก (spikelet) ประกอบด้วยดอกย่อย (floret) มากกว่า10ดอกมีลักษณะบีบตัวแบน ดอกอ่อนสีเหลืองนวล สีดอกเปลี่ยนเป็นสีชมพูอมม่วงเมื่อเริ่มแก่
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ต้นสูง 23.44-42.14 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 0.38-1.18 มิลลิเมตร ข้อสีน้ำตาลเทา ไม่มีขน ใบมีขนาดเล็ก ใบเป็นแบบรูปใบดาบ (ensiform) ปลายใบเรียว ขนาดใบยาว 4.45-5.19 เซนติเมตร กว้าง 0.22-0.34 เซนติเมตร กาบใบยาว 2.11-4.05 เซนติเมตร ความยาวช่อดอก (inflorescence) 16.68-27.06 เซนติเมตร ส่วนที่เป็น headยาว 5.78-9.2 เซนติเมตร กลุ่มดอก (spikelet) มีขนาดยาว 2.89-3.91 มิลลิเมตร กว้าง 1.39-1.81 มิลลิเมตร
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บุรีรัมย์, เชียงใหม่, พัทลุง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ตำบลหัวถนน อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ที่มาของข้อมูล
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Hymenodictyon flaccidum
Alpinia scabra
ยางบูเก๊ะ
Dipterocarpus acutangulus
มะนาวเทศ
Trigonostemon thyrsoideus
Nervilia punctata
Grosourdya ciliata
Previous
Next