Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Blechnum orientale
Blechnum orientale
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Blechnum orientale
L.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
กูดดอย
ชื่อท้องถิ่น::
-
กูดดอย
-
กูดข้างฟาน, กูดดอย, มหาสะดำ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Blechnaceae
สกุล:
Blechnopsis
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:19 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:19 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial fern.
-
กูดดอยเป็นเฟินที่มีรูปร่างคล้ายปรง ลำต้นสั้น มีขนสีน้ำตาลดำเป็นมันปกคลุม ใบย่อยเรียงตัวแบบขนนก รูปยามแคบ เรียงตัวชิดติดกันก้านใบมีใบเล็ก ๆ คล้ายเกล็ดติดอยู่ ใบอ่อนมีสีส้ม สปอร์มักเกิดในฤดูแล้ง กลุ่มของอับสปอร์เกิดเป็นแถวคู่ใกล้เส้นกลางใบ
-
ลำต้นสั้น ใบอ่อนสีแดง ใบประกอบแบบขนนก 1 ชั้น เส้นใบอิสระหรือเป็นง่าม ซอรัสสรูปแถบยาว ชิดเส้นกลางใบทั้งสองข้าง และมีอินดิวเซียมตลอดความยาวของซอรัส
-
เส้นใบอิสระ แบบเดี่ยวหรือแยกเป็นง่าม ซอรัสยาวประกบเส้นกลางใบทั้งสองข้าง มีอินดิว-เซียมคลุมตลอดซอรัส และปลายเปิดเข้าด้านใน เป็นเฟิร์นบนดิน ลักษณะเป็นกอ ลำต้นมีเกล็ดปกคลุม ใบประกอบแบบขนนก 1 ชั้น ซอรัสรูปแถบยาว ชิดเส้นกลางใบทั้งสองข้าง และมีอินดิวเซียมรูปแถบเปิดเข้าเส้นกลางใบ
-
กูดดอยเป็นเฟินที่มีรูปร่างคล้ายปรง ลำต้นสั้น มีขนสีน้ำตาลดำเป็นมันปกคลุม ใบย่อยเรียงตัวแบบขนนก รูปยามแคบ เรียงตัวชิดติดกันก้านใบมีใบเล็ก ๆ คล้ายเกล็ดติดอยู่ ใบอ่อนมีสีส้ม สปอร์มักเกิดในฤดูแล้ง กลุ่มของอับสปอร์เกิดเป็นแถวคู่ใกล้เส้นกลางใบ
-
กูดดอยเป็นเฟินที่มีรูปร่างคล้ายปรง ลำต้นสั้น มีขนสีน้ำตาลดำเป็นมันปกคลุม ใบย่อยเรียงตัวแบบขนนก รูปยามแคบ เรียงตัวชิดติดกันก้านใบมีใบเล็ก ๆ คล้ายเกล็ดติดอยู่ ใบอ่อนมีสีส้ม สปอร์มักเกิดในฤดูแล้ง กลุ่มของอับสปอร์เกิดเป็นแถวคู่ใกล้เส้นกลางใบ
-
กูดดอยเป็นเฟินที่มีรูปร่างคล้ายปรง ลำต้นสั้น มีขนสีน้ำตาลดำเป็นมันปกคลุม ใบย่อยเรียงตัวแบบขนนก รูปยามแคบ เรียงตัวชิดติดกันก้านใบมีใบเล็ก ๆ คล้ายเกล็ดติดอยู่ ใบอ่อนมีสีส้ม สปอร์มักเกิดในฤดูแล้ง กลุ่มของอับสปอร์เกิดเป็นแถวคู่ใกล้เส้นกลางใบ
ระบบนิเวศ :
-
On rather dry open slopes or in light shade, at low or medium altitudes.
การกระจายพันธุ์ :
-
Tropics of Asia, Australia and the Pacific, India to Polynesia, north to Yakushima.
-
พบได้ทุกภาคของประเทศ ตามภูเขา หรือป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ที่ระดับความสูง 600-800 เมตร
-
พบได้ทุกภาคของประเทศ ตามภูเขา หรือป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ที่ระดับความสูง 600-800 เมตร
-
พบได้ทุกภาคของประเทศ ตามภูเขา หรือป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ที่ระดับความสูง 600-800 เมตร
-
พบได้ทุกภาคของประเทศ ตามภูเขา หรือป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ที่ระดับความสูง 600-800 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Alloverthecountry
-
เลย, สกลนคร
-
แพร่,น่าน
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
อุบลราชธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, ริมถนนใกล้ที่ทำการอุทยานฯ
-
ป่าภูหลวง
-
ผาแต้ม, ริมพรุในป่าดงนาทามและน้ำตกสร้อยสวรรค์ ของอุทยานฯผาแต้ม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นบนดิน
-
เฟิร์นบนดิน
-
เฟิร์นบนดิน
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Otochilus fuscus
Cinnamomum bokorense
Leucobryum neilgherrense
Amaranthus lividus
Sciaphila tenella
Linsaea malayensis
Previous
Next