Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia sirindhorniae
Bauhinia sirindhorniae
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia sirindhorniae
K.Larsen & S.S.Larsen
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
สิรินธรวัลลี
ชื่อท้องถิ่น::
-
สามสิบสองประโดง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 10-20 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบ เดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม กว้าง 4-17 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายใบแหลมและแยกเป็น 2 พู เว้าลึกเกือบถึงโคน ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนเขียวเข้มเป็นมัน หูใบเป็นเส้นม้วนโค้ง ดอก สีน้ำตาลแดง ออกเป็นช่อ ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกย่อยบานกว้างประมาณ 1 ซม. กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอกสีเหลืองอมส้มถึงแดง มี 5 กลีบ เกสรผู้สมบูรณ์ 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเมียมีขน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-18 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง คลุมแน่น เมล็ด สีน้ำตาลดำรูปกลม ขนาดเล็ก
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 10-20 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบ เดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม กว้าง 4-17 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายใบแหลมและแยกเป็น 2 พู เว้าลึกเกือบถึงโคน ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนเขียวเข้มเป็นมัน หูใบเป็นเส้นม้วนโค้ง ดอก สีน้ำตาลแดง ออกเป็นช่อ ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกย่อยบานกว้างประมาณ 1 ซม. กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอกสีเหลืองอมส้มถึงแดง มี 5 กลีบ เกสรผู้สมบูรณ์ 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเมียมีขน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-18 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง คลุมแน่น เมล็ด สีน้ำตาลดำรูปกลม ขนาดเล็ก
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 10-20 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบ เดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม กว้าง 4-17 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายใบแหลมและแยกเป็น 2 พู เว้าลึกเกือบถึงโคน ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนเขียวเข้มเป็นมัน หูใบเป็นเส้นม้วนโค้ง ดอก สีน้ำตาลแดง ออกเป็นช่อ ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกย่อยบานกว้างประมาณ 1 ซม. กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอกสีเหลืองอมส้มถึงแดง มี 5 กลีบ เกสรผู้สมบูรณ์ 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเมียมีขน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-18 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง คลุมแน่น เมล็ด สีน้ำตาลดำรูปกลม ขนาดเล็ก
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 10-20 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบ เดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม กว้าง 4-17 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายใบแหลมและแยกเป็น 2 พู เว้าลึกเกือบถึงโคน ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนเขียวเข้มเป็นมัน หูใบเป็นเส้นม้วนโค้ง ดอก สีน้ำตาลแดง ออกเป็นช่อ ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกย่อยบานกว้างประมาณ 1 ซม. กลีบรองดอกเป็นหลอด กลีบดอกสีเหลืองอมส้มถึงแดง มี 5 กลีบ เกสรผู้สมบูรณ์ 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเมียมีขน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-18 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง คลุมแน่น เมล็ด สีน้ำตาลดำรูปกลม ขนาดเล็ก
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชถิ่นเดียว ของประเทศไทย พบที่จังหวัดหนองคาย ตามชายป่าดิบแล้ง ออกดอกช่วงเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม
-
NE Thailand: Nongkhai (Phu Wua), Sakon Nakhon (Phu Phan)
-
เป็นพืชถิ่นเดียว ของประเทศไทย พบที่จังหวัดหนองคาย ตามชายป่าดิบแล้ง ออกดอกช่วงเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม
-
เป็นพืชถิ่นเดียว ของประเทศไทย พบที่จังหวัดหนองคาย ตามชายป่าดิบแล้ง ออกดอกช่วงเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม
-
เป็นพืชถิ่นเดียว ของประเทศไทย พบที่จังหวัดหนองคาย ตามชายป่าดิบแล้ง ออกดอกช่วงเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถา, ไม้เลื้อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Dry evergreen forest, 200 m.
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Flemingkia kerrii
Viola diffusa
Jansenella griffithiana
Osbeckia setoso-annulata
Platea latifolia
Ophiopogon intermedius
Previous
Next