Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia glauca
Bauhinia glauca
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia glauca
(Benth.) Benth.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
เสี้ยวเครือยอดแตง
-
เสี้ยวเครือ
ชื่อท้องถิ่น::
-
เสี้ยวเครือ เสี้ยวป่า แสลงพัน คางโค พาซิว
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
-
ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
-
ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
-
ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุราษฎร์ธานี
-
บุรีรัมย์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Microlepia matthewii
Myrmecodia tuberosa
Anisopappus chinensis
ขี้อ้นดอน
Callicarpa candicans
Heterostemma esquirolii
Payena maingayi
Previous
Next