Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Parinari anamense
Parinari anamense
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Dillenia indica
L.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Parinari albida Craib
- Parinari anamensis (Hance) J.E.Vidal, 1964
ชื่อไทย::
-
มะพอก
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระท้อนลอก จัด จั๊ด ตะเลาะ ตะโลก ท่าลอก ประดงไฟ ปร
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Dilleniales
วงศ์::
Dilleniaceae
สกุล:
Parinari
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:21 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:21 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลักษณะเรือนยอดเป็นพุ่ม ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลปนเทา เป็นสะเก็ดถี่ ๆ ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ติดเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข่ โคนใบมน ปลายใบหยักคอด เป็นติ่งสั้น ๆ เนื้อใบหนา ท้องใบมีคราบขาวเด่นชัด ขอบใบเรียบ ดอก ออกดอกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง มีก้านดอกสั้นมาก ดอกย่อยเล็ก สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ บริเวณโคนกลีบ รองกลีบดอกจะเชื่อมเป็นรูปกรวยปากกว้าง ส่วนปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ แยกกัน มีความยาวเท่า ๆ กับกลีบรองกลีบดอก เกสรผู้มี 5-12 อัน รังไข่รูปทรงกลม ผล รูปรีหรือทรงกลม ผิวขรุขระมีตุ่มหรือสะเก็ดสีเทาปนน้ำตาลทั่วไป กว้างประมาณ 3 ซม. ยาว 3-4 ซม.
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลักษณะเรือนยอดเป็นพุ่ม ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลปนเทา เป็นสะเก็ดถี่ ๆ ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ติดเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข่ โคนใบมน ปลายใบหยักคอด เป็นติ่งสั้น ๆ เนื้อใบหนา ท้องใบมีคราบขาวเด่นชัด ขอบใบเรียบ ดอก ออกดอกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง มีก้านดอกสั้นมาก ดอกย่อยเล็ก สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ บริเวณโคนกลีบ รองกลีบดอกจะเชื่อมเป็นรูปกรวยปากกว้าง ส่วนปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ แยกกัน มีความยาวเท่า ๆ กับกลีบรองกลีบดอก เกสรผู้มี 5-12 อัน รังไข่รูปทรงกลม ผล รูปรีหรือทรงกลม ผิวขรุขระมีตุ่มหรือสะเก็ดสีเทาปนน้ำตาลทั่วไป กว้างประมาณ 3 ซม. ยาว 3-4 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
สามารถขึ้นได้ทั้งป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณทั่วไปทุกภาค ตั้งแต่ระดับน้ำทะเล จนสูงถึง 1500 เมตร
-
สามารถขึ้นได้ทั้งป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณทั่วไปทุกภาค ตั้งแต่ระดับน้ำทะเล จนสูงถึง 1500 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
กาญจนบุรี, ตาก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Bazzania tridens
สักน้ำ
Vatica pauciflora
Calymperes acuminatum
Myosoton aquaticum
Podocarpus hookeri
Leptochloa malayana
Previous
Next