Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pterolobium integrum
Pterolobium integrum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pterolobium integrum
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Kaeo ta wai
ชื่อไทย::
-
แก้วตาไว
-
แก้วมือไว
ชื่อท้องถิ่น::
-
กะเทว, กะแท้วแดง (เลย), แก้วตาไว, แก้วมือไว (ภาคกลาง) ,ขี้แร็ก (ราชบุรี) เด่นแทว (ภาคตะวันออก), เขนแทว,ทับเพียว (นครราชสีมา) หนามเล็บแมว, หนามเหียง (ตาก)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Pterolobium
ปีที่ตีพิมพ์:
2014
วันที่อัพเดท :
9 พ.ย. 2566 17:13 น.
วันที่สร้าง:
9 พ.ย. 2566 17:13 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก
-
ต้นตั้งสูง 63.75-100.97 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 7.37-11.05 มิลลิเมตร ขนาดใบยาว 1.9-2.5 เซนติเมตร กว้าง 0.9-1.3 เซนติเมตร หูใบยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ก้านใบรวมยาว 4.22-5.92 เซนติเมตร ก้านใบย่อยยาว 1-2 มิลลิเมตร และมีขนคลุม ช่อดอกยาว 1.14-1.8 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยยาว 0.4-0.6 เซนติเมตรมี 8-26 ดอกต่อช่อ ก้านช่อดอกสั้นมาก ยาว 0.05-0.2 เซนติเมตร ฝักมี 10-21 ฝักต่อช่อ ฝักยาว 2.36-2.8 เซนติเมตร กว้าง 0.18-0.26 เซนติเมตร มีขนสีขาวยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ปกคลุมหนาแน่น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นไม้พุ่ม ขนาดเล็ก อายุหลายปี แตกกิ่งก้านมาก ลำต้นเหนียว สีเขียวอมน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ (odd-pinnate) เรียงตรงข้ามกัน (opposite) ใบเป็นแบบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ (ovate-oblong) โคนใบกลม ปลายใบเว้าบุ๋ม (retuse) มีติ่ง หน้าใบ หลังใบมีขนละเอียดสั้น ๆ สีขาวปกคลุมหนาแน่น ใบสีเขียว ผิวใบนุ่ม เส้นกลางใบ (mid rib) เล็กยาวจากโคนถึงปลายใบ เส้นใบ (vein) เรียงตัวแบบโค้งจรดกัน (anastomosing) เส้นใบด้านหลังมองด้วยตาเปล่าไม่ชัดเจน ขอบใบเรียบ (entire) หูใบ (stipule) แบบรูปเข็มแหลม (filiform) สีม่วงอมแดง ออกดอกเดือน มิถุนายน-มีนาคม ช่อดอกขนาดเล็กออกที่ตาข้างแบบช่อกระจะ (raceme) มีจำนวนมาก ดอกรูปดอกถั่ว กลีบกลาง (standard) สีเขียวอมแดง กลีบคู่ข้าง (wing) สีชมพูอมส้ม กลีบคู่ล่าง (keel) สีเขียว ฝักรูปทรงกระบอกกลม
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นอยู่ทั่วไปในพื้นที่โล่ง ชายป่าละเมาะ ดินเหนียวปนลูกรัง ดินร่วน
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครราชสีมา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตพื้นที่บ้านป่าไผ่ ตำบลจันทึก อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Digitaria thailandica
Streptocaulon wallichii
Luisia filiformis
Gymnosporia mekongensis
Ardisia subpilosam
ผักเขียด
Monochoria vaginalis
Previous
Next