Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Toddalia asiatica
Toddalia asiatica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Toddalia asiatica
Lam.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Wild orange tree
ชื่อไทย::
-
เครืองูเห่า
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักแปมป่า เล็บรอก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Rutaceae
สกุล:
Toddalia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มรอเลื้อย หรือไม้เถามีเนื้อไม้ ใบประกอบแบบมี 3 ใบย่อย รูปรี รูปรีแคบ รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ กว้าง 1-4 ซม. ยาว 3-10 ซม. ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อยาวถึง 17 ซม. กลีบดอกสีขาว หรือสีครีม รูปไข่ถึงรูปรี ยาว 1.0-3.5 มม. ผล สด รูปไข่กลับ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-10 มม. มีต่อมน้ำมันที่ผิว
-
ไม้เถ้าล้มลุก
-
ไม้พุ่มรอเลื้อย หรือไม้เถามีเนื้อไม้ ใบประกอบแบบมี 3 ใบย่อย รูปรี รูปรีแคบ รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ กว้าง 1-4 ซม. ยาว 3-10 ซม. ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อยาวถึง 17 ซม. กลีบดอกสีขาว หรือสีครีม รูปไข่ถึงรูปรี ยาว 1.0-3.5 มม. ผล สด รูปไข่กลับ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-10 มม. มีต่อมน้ำมันที่ผิว
การกระจายพันธุ์ :
-
จีน บังคลาเทศ ภูฐาน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ลาว มาเลเซีย พม่า เนปาล ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา เวียดนาม เกาะมาดากัสการ์ ประเทศไทยมักพบที่ป่าดิบแล้ง หรือป่าดิบเขา
-
จีน บังคลาเทศ ภูฐาน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ลาว มาเลเซีย พม่า เนปาล ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา เวียดนาม เกาะมาดากัสการ์ ประเทศไทยมักพบที่ป่าดิบแล้ง หรือป่าดิบเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1013133
1013133
2
PRJNA970951
970951
3
PRJNA737926
737926
4
PRJNA733013
733013
5
PRJNA693976
693976
6
PRJNA670310
670310
7
PRJNA438407
438407
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
พลองกินลูก
Memecylon ovatum
Grammatophyllum speciosum
เต็งหนาม
Bridelia retusa
เทียนทะเล
Pemphis acidula
Panicum hayatae
Derris constricta
Previous
Next