Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Terminalia corticosa
Terminalia corticosa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Terminalia corticosa
Pierre ex Laness.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Terminalia corticosa Pierre
- Terminalia mucronata Craib & Hutch.
- Terminalia thorelii Gagnep.
ชื่อไทย:
-
ตะแบกเลือด
ชื่อท้องถิ่น::
-
เปื๋อยปั๋ง มะเกลือเลือด มะกาเถื่อน
-
ตะแบกเลือด (ภาคตะวันตกเฉียงใต้) โคะกาง (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่) ปราบตำเลีย (เขมร-บุรีรัมย์) เปีย (อุบลราชธานี) เปื๋อยปั่ง เปื๋อยปี เปื๋อยสะแอน (ภาคเหนือ); มะกาเถื่อน (เงี้ยว-ภาคเหนือ) มะเกลือเลือด (ภาคกลาง).
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Myrtales
วงศ์::
Combretaceae
สกุล:
Terminalia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:21 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:21 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่สูงถึง 35 เมตร ลำต้นเปลาตรง ส่วนโคนต้นขรุขระเป็นสะเก็ด ส่วนบนเรียบเป็นหลุมตื้นๆ ใบ เป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน รูปมน ปลายใบแหลม ฐานใบมน ใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบด้านล่างชัดเจน ก้านใบยาว 1-2 ซม. มีต่อมอยู่ 1 คู่ที่โคนก้านใบ ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยวๆสีค่อนข้างเหลือง ยาว 9-15 ซม. ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาด 4-5 ซม. กลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยปลายแยกเป็น 5 แฉก ปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล ผล เป็นผลแห้ง มีครีบ 2 ครีบ ลักษณะแบนแผ่กว้างเป็นแผ่น ตัวผลเป็นรูปร่างมน มีขนสีน้ำตาล สั้นนุ่มแน่น ขนาดผลรวมทั้งครีบยาว 3-4 ซม. กว้าง 2.5-3 ซม. มีเมล็ดเดียว
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่สูงถึง 35 เมตร ลำต้นเปลาตรง ส่วนโคนต้นขรุขระเป็นสะเก็ด ส่วนบนเรียบเป็นหลุมตื้นๆ ใบ เป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน รูปมน ปลายใบแหลม ฐานใบมน ใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบด้านล่างชัดเจน ก้านใบยาว 1-2 ซม. มีต่อมอยู่ 1 คู่ที่โคนก้านใบ ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยวๆสีค่อนข้างเหลือง ยาว 9-15 ซม. ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาด 4-5 ซม. กลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยปลายแยกเป็น 5 แฉก ปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล ผล เป็นผลแห้ง มีครีบ 2 ครีบ ลักษณะแบนแผ่กว้างเป็นแผ่น ตัวผลเป็นรูปร่างมน มีขนสีน้ำตาล สั้นนุ่มแน่น ขนาดผลรวมทั้งครีบยาว 3-4 ซม. กว้าง 2.5-3 ซม. มีเมล็ดเดียว
การกระจายพันธุ์ :
-
กระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อน พบขึ้นในป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง จนถึงที่ระดับความสูง 700 เมตร ทิ้งใบในช่วงเดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ แตกใบอ่อนพร้อมช่อดอกในเดือน เมษายน-พฤษภาคม
-
กระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อน พบขึ้นในป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง จนถึงที่ระดับความสูง 700 เมตร ทิ้งใบในช่วงเดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ แตกใบอ่อนพร้อมช่อดอกในเดือน เมษายน-พฤษภาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ต้นตะแบกเลือด : เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ สูงประมาณ 35 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ลำต้น เปลาตรง เปลือกต้นสีเทาหรือน้ำตาล-แดง ขรุขระเป็นปุ่มปมและเปลือกกร่อนหลุดออกเป็นแผ่นบางๆ เปลือกชั้นในสีชมพู-แดง
- ใบ : เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากแผ่นใบรูปไข่กว้างถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ขนาด 5-9 x 7-15 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบเข้าถึงกลม จุดเด่นที่โคนใบมีต่อม 2 ต่อมชัดเจน ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุมทั้งสองด้าน หลังใบมองเห็นเส้นใบและเส้นใบย่อยชัดเจน
- ดอก : ช่อดอกแบบช่อหางกระรอกออกตามกิ่งและซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สีเหลือง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ไม่มีกลีบดอก
- ผล : แห้งมีปีกตามยาวผล 3 ปีก ทรงกลม แข็ง มีขนสีน้ำตาลสั่นนุ่นหนาแน่น มี 1 เมล็ด รูปรี
-
ต้นตะแบกเลือด : เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ สูงประมาณ 35 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ลำต้น เปลาตรง เปลือกต้นสีเทาหรือน้ำตาล-แดง ขรุขระเป็นปุ่มปมและเปลือกกร่อนหลุดออกเป็นแผ่นบางๆ เปลือกชั้นในสีชมพู-แดง
- ใบ : เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากแผ่นใบรูปไข่กว้างถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ขนาด 5-9 x 7-15 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบเข้าถึงกลม จุดเด่นที่โคนใบมีต่อม 2 ต่อมชัดเจน ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุมทั้งสองด้าน หลังใบมองเห็นเส้นใบและเส้นใบย่อยชัดเจน
- ดอก : ช่อดอกแบบช่อหางกระรอกออกตามกิ่งและซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สีเหลือง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ไม่มีกลีบดอก
- ผล : แห้งมีปีกตามยาวผล 3 ปีก ทรงกลม แข็ง มีขนสีน้ำตาลสั่นนุ่นหนาแน่น มี 1 เมล็ด รูปรี
-
ต้นตะแบกเลือด : เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ สูงประมาณ 35 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ลำต้น เปลาตรง เปลือกต้นสีเทาหรือน้ำตาล-แดง ขรุขระเป็นปุ่มปมและเปลือกกร่อนหลุดออกเป็นแผ่นบางๆ เปลือกชั้นในสีชมพู-แดง
- ใบ : เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากแผ่นใบรูปไข่กว้างถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ขนาด 5-9 x 7-15 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบเข้าถึงกลม จุดเด่นที่โคนใบมีต่อม 2 ต่อมชัดเจน ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุมทั้งสองด้าน หลังใบมองเห็นเส้นใบและเส้นใบย่อยชัดเจน
- ดอก : ช่อดอกแบบช่อหางกระรอกออกตามกิ่งและซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สีเหลือง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ไม่มีกลีบดอก
- ผล : แห้งมีปีกตามยาวผล 3 ปีก ทรงกลม แข็ง มีขนสีน้ำตาลสั่นนุ่นหนาแน่น มี 1 เมล็ด รูปรี
-
ต้นตะแบกเลือด : เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ สูงประมาณ 35 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ลำต้น เปลาตรง เปลือกต้นสีเทาหรือน้ำตาล-แดง ขรุขระเป็นปุ่มปมและเปลือกกร่อนหลุดออกเป็นแผ่นบางๆ เปลือกชั้นในสีชมพู-แดง
- ใบ : เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากแผ่นใบรูปไข่กว้างถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ขนาด 5-9 x 7-15 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบเข้าถึงกลม จุดเด่นที่โคนใบมีต่อม 2 ต่อมชัดเจน ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุมทั้งสองด้าน หลังใบมองเห็นเส้นใบและเส้นใบย่อยชัดเจน
- ดอก : ช่อดอกแบบช่อหางกระรอกออกตามกิ่งและซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สีเหลือง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ไม่มีกลีบดอก
- ผล : แห้งมีปีกตามยาวผล 3 ปีก ทรงกลม แข็ง มีขนสีน้ำตาลสั่นนุ่นหนาแน่น มี 1 เมล็ด รูปรี
-
ต้นตะแบกเลือด : เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ สูงประมาณ 35 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ลำต้น เปลาตรง เปลือกต้นสีเทาหรือน้ำตาล-แดง ขรุขระเป็นปุ่มปมและเปลือกกร่อนหลุดออกเป็นแผ่นบางๆ เปลือกชั้นในสีชมพู-แดง
- ใบ : เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากแผ่นใบรูปไข่กว้างถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ขนาด 5-9 x 7-15 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบเข้าถึงกลม จุดเด่นที่โคนใบมีต่อม 2 ต่อมชัดเจน ใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุมทั้งสองด้าน หลังใบมองเห็นเส้นใบและเส้นใบย่อยชัดเจน
- ดอก : ช่อดอกแบบช่อหางกระรอกออกตามกิ่งและซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สีเหลือง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ไม่มีกลีบดอก
- ผล : แห้งมีปีกตามยาวผล 3 ปีก ทรงกลม แข็ง มีขนสีน้ำตาลสั่นนุ่นหนาแน่น มี 1 เมล็ด รูปรี
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก การขยายพันธุ์โดยวิธีอื่นมีน้อย
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก การขยายพันธุ์โดยวิธีอื่นมีน้อย
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก การขยายพันธุ์โดยวิธีอื่นมีน้อย
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก การขยายพันธุ์โดยวิธีอื่นมีน้อย
-
ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก การขยายพันธุ์โดยวิธีอื่นมีน้อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบูรณ์
-
ลำพูน, ลำปาง
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
ลำพูน, ลำปาง
-
พิษณุโลก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ที่อยู่อาศัย,อาทิ คาน และไม้กระดาน
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1105857
1105857
2
PRJEB57596
997693
3
PRJEB56667
997692
4
PRJNA927338
927338
5
PRJNA924524
924524
6
PRJEB51566
840403
7
PRJNA815001
815001
8
PRJNA797285
797285
9
PRJNA748537
748537
10
PRJNA707928
707928
11
PRJNA703188
703188
12
PRJEB42506
700052
13
PRJEB42302
700049
14
PRJEB42299
700048
15
PRJNA648203
648203
16
PRJNA628390
628390
17
PRJNA611456
611456
18
PRJNA553952
553952
19
PRJNA552350
552350
20
PRJEB21674
393814
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Gastrodia exilis
Davallodes imbricatum
Flemingia fluminalis
Bauhinia brachycarpa
Lycianthes macrodon
Dasymaschalon echinatum
Previous
Next