Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cymbidium
Cymbidium
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cymbidium bicolor
Lindl.
ชื่อไทย::
-
กะเรกะร่อนอินทนนท์
ชื่อท้องถิ่น::
-
เอื้องกำเบ้อ ผีเสื้อ เอื้องชาด เอื้องดินเนอ เอื้อง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Cymbidium
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปกระเปาะกลม กว้าง 5-7 ซม. สูง 6-10 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด ปลายสอบ กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 50-80 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 60-80 ซม. จำนวน 5-12 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีเหลืองแกมเขียว มีขีดตามยาวสีน้ำตาลเข้ม กลีบปากสีเหลือง มีประสีน้ำตาลเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 10 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,000-2,000 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปกระเปาะกลม กว้าง 5-7 ซม. สูง 6-10 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด ปลายสอบ กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 50-80 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 60-80 ซม. จำนวน 5-12 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีเหลืองแกมเขียว มีขีดตามยาวสีน้ำตาลเข้ม กลีบปากสีเหลือง มีประสีน้ำตาลเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 10 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,000-2,000 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปกระเปาะกลม กว้าง 5-7 ซม. สูง 6-10 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด ปลายสอบ กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 50-80 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 60-80 ซม. จำนวน 5-12 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีเหลืองแกมเขียว มีขีดตามยาวสีน้ำตาลเข้ม กลีบปากสีเหลือง มีประสีน้ำตาลเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 10 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,000-2,000 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปกระเปาะกลม กว้าง 5-7 ซม. สูง 6-10 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด ปลายสอบ กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 50-80 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 60-80 ซม. จำนวน 5-12 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีเหลืองแกมเขียว มีขีดตามยาวสีน้ำตาลเข้ม กลีบปากสีเหลือง มีประสีน้ำตาลเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 10 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,000-2,000 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก ช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
การกระจายพันธุ์ :
-
เมียนม่าร์ และไทย
-
เมียนม่าร์ และไทย
-
เมียนม่าร์ และไทย
-
เมียนม่าร์ และไทย
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1118446
1118446
2
PRJEB66849
1114533
3
PRJNA1066558
1066558
4
PRJNA1057846
1057846
5
PRJNA1055181
1055181
6
PRJNA930678
930678
7
PRJNA923320
923320
8
PRJNA897243
897243
9
PRJNA897242
897242
10
PRJNA845391
845391
11
PRJNA806087
806087
12
PRJNA806047
806047
13
PRJNA805979
805979
14
PRJNA805854
805854
15
PRJNA805853
805853
16
PRJNA805837
805837
17
PRJNA805831
805831
18
PRJNA805807
805807
19
PRJNA805798
805798
20
PRJNA805797
805797
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
คนทีเขมา
Vitex negundo
กล้วยเทพพนม
Musa (ABB
Cymbidium tracyanum
Nechamandra alternifolia
Mallotus calocarpus
Stereospermum fimbriatum
Previous
Next