Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Tecoma capensis
Tecoma capensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Tecoma capensis
Lindl.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
พวงแสดต้น
ชื่อท้องถิ่น::
-
หงอนนกยูง Cape honeysuckle
-
หงอนนกยูง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Bignoniaceae
สกุล:
Tecoma
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 1-2 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 2-4 คู่ รูปหอกหรือรูปรี โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ สีส้มแดงหรือเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด ผลเป็นฝัก รูปทรงกระบอก แตกเป็นสองซีก เมล็ดแบน จำนวนมาก
-
ไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 1-2 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 2-4 คู่ รูปหอกหรือรูปรี โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ สีส้มแดงหรือเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด ผลเป็นฝัก รูปทรงกระบอก แตกเป็นสองซีก เมล็ดแบน จำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
ต้นกำเนิดจากแอฟริกาใต้ ออกดอกตลอดปี ปลูกใน ดินร่วน แสงแดดจัดถึงปานกลาง น้ำปานกลาง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือปักชำกิ่ง
-
ต้นกำเนิดจากแอฟริกาใต้ ออกดอกตลอดปี ปลูกใน ดินร่วน แสงแดดจัดถึงปานกลาง น้ำปานกลาง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือปักชำกิ่ง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 1-2 เมตร แตกพุ่มไม่เป็นระเบียบ กิ่งก้านเปราะ สีเขียว
ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 2-4 คู่ รูปใบหอกหรือรูปรี ปลายแหลม โคนสอบ ขอบใบหยัก แผ่นใบสีเขียว
ดอก : ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ตามปลายกิ่ง ดอกสีส้ม กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกสั้น กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด สีส้มแดง ออกดอกตลอดปี
-
ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 1-2 เมตร แตกพุ่มไม่เป็นระเบียบ กิ่งก้านเปราะ สีเขียว
ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 2-4 คู่ รูปใบหอกหรือรูปรี ปลายแหลม โคนสอบ ขอบใบหยัก แผ่นใบสีเขียว
ดอก : ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ตามปลายกิ่ง ดอกสีส้ม กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกสั้น กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด สีส้มแดง ออกดอกตลอดปี
-
ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 1-2 เมตร แตกพุ่มไม่เป็นระเบียบ กิ่งก้านเปราะ สีเขียว
ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 2-4 คู่ รูปใบหอกหรือรูปรี ปลายแหลม โคนสอบ ขอบใบหยัก แผ่นใบสีเขียว
ดอก : ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ตามปลายกิ่ง ดอกสีส้ม กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกสั้น กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด สีส้มแดง ออกดอกตลอดปี
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด ปักชำ
-
เพาะเมล็ด ปักชำ
-
เพาะเมล็ด ปักชำ
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ตำแยซี่ฟันแหลม
Acalypha lanceolata
เปล้าแพะ
Croton acutifolius
Thelypteris viscosa
ท้ายเภาขาว
Scaphium linearicarpum
Anisoptera scaphula
Coelastrum cambricum
Previous
Next